Thursday, August 27, 2020

เลือกใช้ยาแก้แพ้จมูกอักเสบอย่างไร

เลือกใช้ยาแก้แพ้จมูกอักเสบอย่างไรให้ถูกยา ถูกคน ถูกโรค
การประชุมวิชาการ เรื่อง Review in Anti-histamines and NSAIDs ในรูปแบบการสัมมนาออนไลน์ (Webinar) จัดขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 23 สิงหาคม 2563 เวลา 13.00-15.00 น. โดยการถ่ายทอดสดภาพและเสียงจากโรงพยาบาลศูนย์ขอนแก่น จังวัดขอนแก่น
PODCAST bit.ly/3hAfyab CLIP bit.ly/31uYs89 PDF bit.ly/2EozfUm 💥 Histamine receptors มี 4 ชนิด ถ้ากระตุ้นที่ h1receptor h2 receptor กระตุ้นให้หลั่งกรดเพิ่มขึ้น h3 receptor อยู่ที่ CNS (ยาใช้ใน NARCOLEPSY) h4 receptor มียาใช้ใน Allergic rhinitis, Vestibular disease (targeting the H3 histamine receptor with an agonist, immethridine, could markedly alleviate some components of cardiorenal damage in our mouse model. The researchers hope that their findings will help bring new treatments for cardiorenal dysfunction in humans. Histamine may protect against heart and kidney damage https://www.medicalnewstoday.com/arti...)
💥 H1-antihistamines ลดการเกิด vasodilate และ sensory nerve ลดผื่นบวมนูน ลด ALLERGIC REACTION h1receptor ที่ mucosa ที่หลอดลม ทำให้หายใจหอบเหนื่อย ที่ GLAND ทำให้น้ำมูกไหล ที่ทางเดินอาหาร ทำให้คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง ท้องเสีย ที่หัวใจ ทำให้หัวใจเต้นเร็ว ที่หลอดลม ทำให้เกิด bronchoconstriction wheezing หอบ เหนื่อย
💥
ผลข้างเคียง จะเกิดใน First-generation antihistamines ที่ lipophilic เข้าสู่ blood–brain barrier (BBB) muscarinic recepror ทำให้ ปากแห้ง คอแห้ง หัวใจเต้นเร็ว ฉี่ไม่ออก หน้ามืดวิงเวียนเวลาเปลี่ยนท่า QT PROLONG หัวใจเต้นผิดจังหวะ
💥 ภูมิแพ้จมูก ใช้ 2nd generation antihistamines ไม่ recommend 1st gen Chronic Spontaneous Urticaria (CSU) 1st line treatment ใช้ non-sedating H1 antihistamines ถ้าไม่ดีขึ้นใน 2 wk สามารถ up dose เพิ่มได้ 4 เท่า ถ้าไม่ดีขึ้นให้ ADD ยาตัวอื่นได้ เช่น Histamine H2-receptor antagonists (15-30% มี h2 receptor ที่ผิวหนัง)
💥 TACHYPHYLAXIS การต้านยา / การดื้อยา การใช้ยาติดต่อกันเป็นเวลานานจะทาให้ประสิทธิภาพของยาลดลง การใช้ยาแล้วไม่ตอบสนอง ไม่สามารถควบคุมอาการได้ ให้เปลี่ยนไปใช้ยาตัวอื่น
💥 ORAL H1-antihistamines 2ND GEN ไม่ค่อยมีปัญหาเรื่อง drug interaction การกินยาแก้แพ้ 3 เวลา ไม่จำเป็น อาจเพิ่มผลข้างเคียง ใช้ OD DOSE น่าจะเพียงพอ
💥 BILASTINE ออกฤทธิเร็วใน 30 นาที PEAK OF ACTION = 8 ชั่วโมง DURATION OF ACTION = 24 ชั่วโมง
💥 Chronic Spontaneous Urticaria (CSU) A การ up dose 4 เท่า ทำให้ตอบสนองต่อการรักษาดีขึ้น Levocetirizine ตอบสนองดีขึ้น 20% Desloratadine ตอบสนองดีขึ้น 30% BILASTINE ตอบสนองดีขึ้น 60% B EFFICACY dose ปกติวันละครั้ง เมื่อเทียบกับ PLACEBO BILASTINE ได้ผลดีกว่า Levocetirizine C ลดผื่นนูน BILASTINE ได้ผลดีกว่า Desloratadine D การง่วงนอน ต่างกันตรง INDIVIDUALIZE ของแต่ละคน non sedate BILASTINE และ FEXODENADINE ไม่มี BRAIN PENETRATION ตัวที่อาจง่วง LEVOCETERIZINE loratadine ceterizine ง่วงมาก hydroxyzine cpm
💥💥 การแพ้ยาแก้แพ้ จะมี CROSS REACTION ใน class เดียวกัน แพ้ BILASTINE ห้ามใช้ FEXODENADINE, loratadine, desloratadine terfenadine Cyproheptadine แพ้ CETERIZINE ห้ามใช้ HYDROXYZINE
💥💥 ภูมิแพ้ที่ตา จมูก ผิวหนัง BILASTINE ออกฤทธิ์ครอบคลุมทั้ง 3 ระบบ รวมทั้ง CETERIZINE ภูมิแพ้จมูก ผื่นผิวหนัง desloratadine loratadine LEVOCETERIZINE FEXODENADINE
💥 เด็ก (เด็กอายุต่ำกว่า 1 ปี ยังไม่มีงานวิจัย) desloratadine CPM HYDROXYZINE ใช้ได้ตั้งแต่ 1 ขวบ ตัวอื่นๆ ใช้ได้ตั้งแต่ 2 ขวบ FEXODENADINE ใช้ได้ตั้งแต่ 3 ขวบ (กรณี CHRONIC URTICARIA เริ่มได้ที่อายุ 6 เดือนขึ้นไป แต่ต้องลด DOSE) BILASTINE ใช้ได้ตั้งแต่ 6-12 ปีขึ้นไป ตับไต สูงอายุ BILASTINE ใช้ได้ปกติ FEXODENADINE ในไตไม่ดีลด DOSE เหลือ 60 mg DRUG INTERACTION / ALCOHOL INTERACTION BILASTINE, desloratadine ไม่มีปัญหา LORATADINE ระวัง CYPA4 CYP2D6 grapefruit / น้ำผลไม้ที่เป็นกรด BILASTINE FEXODENADINE การดูดซึมยาจะลดลง (BILASTINE การกินยาหลังอาหาร หรือ ท้องว่าง ผลไม่แตกต่างกัน) ประสิทธิภาพของยา และ ผลข้างเคียง BILASTINE มากกว่า FEXODENADINE และอื่นๆ คนท้อง CETERIZINE loratadine ใช้ใน 2nd trimester CPM ใช้ได้ใน 1st trimester
💥 โรคที่ใช้ Oral Antihistamine URTICARIA ANGIOEDEMA Dermographism แมลงกัด อาการคันจากเหตุอื่นที่เกี่ยวข้องกับฮิสตามีน อาจใช้ 1st gen เพื่อให้มี SEDARIVE EFFECT Dermographism = ลมพิษ ผื่นบวมนูนตามรอยเกา แต่ถ้าปากบวม ตาบวม อาการรุนแรง ให้ไปโรงพยาบาล เพราะอาจเกิดหลอดลมบวม ขาดอากาศหายใจ Cold urticaria ระวังเมื่อถูกอากาศเย็นแล้วมีอาการรุนแรง ให้ระวังหัวใจหยุดเต้น Cholinergic urticaria เหงื่อออกเล่นกีฬา หรือ อบซาวน่า มีผื่นลมพิษ Delayed pressure urticaria ผื่นขึ้นตามรอยที่กดทับ คนน้ำหนักเยอะ อ้วน Vibratory urticaria Solar urticaria ผื่นคันจากสายรัดนาฬิกา insect bite reaction 💥 ........................... Q อาหารไม่มีผลต่อประสิทธิภาพของยา แต่ให้เลี่ยงน้ำผลไม้ที่มีความเป็นกรด ส่วนกินเวลาไหนออกฤทธิ์ดีที่สุด ยังไม่มีงานวิจัย Q cpm + atarax ไม่ recommend ในลมพิษเรื้อรัง แต่ถ้าต้องการให้ง่วง ระวังง่วงมาก ไม่แนะนำให้ใช้ 2 ตัว คู่กัน Q ผื่นคันเรื้อรัง ถามหายาแก้แพ้ อาจต้องกิน antihistamines เป็นระยะเวลานาน ผื่นลมพิษเรื้อรังที่ไม่หาย 90% กินยาเรื่อยๆ แต่ 10% ควรไปหาสาเหตุที่โรงพยาบาล non-sedating H1 antihistamines สามารถใช้ในระยะเวลานานได้ ส่วนคนสูงอายุ หรือ เป็นโรคตับไต สามารถใช้ Bilastine ได้อย่างปลอดภัย 💥💥
POSTED 2020.08.27





No comments:

Post a Comment