Asymptomatic bacteriuria (ABU)
การมีแบคทีเรียในปัสสาวะแบบไม่ปรากฏอาการ
พบในผู้หญิงวัยทอง 1-5% จากนั้นจะเพิ่มขึ้นในคนสูงอายุ 4-19%
พบในผู้ป่วยเบาหวาน 0.7-27%
พบในหญิงมีครรภ์ 2-10%
พบในผู้ที่บาดเจ็บบริเวณไขสันหลัง 23-89%
พบได้ยากในวัยหนุ่มสาว แต่ถ้าพบจะมีสาเหตุจากต่อมลูกหมากอักเสบเรื้อรัง ซึ่งจำเป็นต้องรักษา
ABU ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อไต จึงไม่จำเป็นต้องรักษา
BT-UTI-01
การมีแบคทีเรียในปัสสาวะแบบไม่ปรากฏอาการ
พบในผู้หญิงวัยทอง 1-5% จากนั้นจะเพิ่มขึ้นในคนสูงอายุ 4-19%
พบในผู้ป่วยเบาหวาน 0.7-27%
พบในหญิงมีครรภ์ 2-10%
พบในผู้ที่บาดเจ็บบริเวณไขสันหลัง 23-89%
พบได้ยากในวัยหนุ่มสาว แต่ถ้าพบจะมีสาเหตุจากต่อมลูกหมากอักเสบเรื้อรัง ซึ่งจำเป็นต้องรักษา
ABU ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อไต จึงไม่จำเป็นต้องรักษา
BT-UTI-01
1
Add a comment...
ORENUC classification
ระดับความรุนแรงของโรค
O - NO RISK FACTOR
ไม่ปรากฏอาการ ในหญิงวัยทอง
R- RECURRENT UTI RF
กลับเป็นซ้ำ แต่ไม่รุนแรง
สาเหตุจาก พฤติกรรมทางเพศ อุปกรณ์คุมกำเนิด
ขาดฮอร์โมนในหญิงวัยหมดประจำเดือน
ผู้ป่วยเบาหวาน
E- EXTRA UROGENITAL RF
มีอาการรุนแรง ในคนท้อง ผู้ชาย ควบคุมเบาหวานไม่ได้ ภูมิคุ้มกันบกพร่อง ทารกแรกเกิด
N - NEPHROPATHIC RF
อาการรุนแรง ไตวาย ถุงน้ำในไต
U - UROLOGICAL RF
อาการทางระบบทางเดินปัสสาวะ ซึ่งเกิดขึ้นระหว่างการรักษา จากการเกิดนิ่วในไต การใส่ท่อในทางเดินปัสสาวะ การผ่าตัดทางเดินปัสสาวะ ความผิดปกติในการควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะ
C - CATHETER RF
มีอาการรุนแรง จากการสวนปัสสาวะเป็นเวลานาน ถ่ายปัสสาวะไม่ออก
UROLOGICAL INFECTIONS - LIMITED UPDATE MARCH 2015
http://uroweb.org/wp-content/uploads/19-Urological-infections_LR2.pdf
BT-UTI-02
ระดับความรุนแรงของโรค
O - NO RISK FACTOR
ไม่ปรากฏอาการ ในหญิงวัยทอง
R- RECURRENT UTI RF
กลับเป็นซ้ำ แต่ไม่รุนแรง
สาเหตุจาก พฤติกรรมทางเพศ อุปกรณ์คุมกำเนิด
ขาดฮอร์โมนในหญิงวัยหมดประจำเดือน
ผู้ป่วยเบาหวาน
E- EXTRA UROGENITAL RF
มีอาการรุนแรง ในคนท้อง ผู้ชาย ควบคุมเบาหวานไม่ได้ ภูมิคุ้มกันบกพร่อง ทารกแรกเกิด
N - NEPHROPATHIC RF
อาการรุนแรง ไตวาย ถุงน้ำในไต
U - UROLOGICAL RF
อาการทางระบบทางเดินปัสสาวะ ซึ่งเกิดขึ้นระหว่างการรักษา จากการเกิดนิ่วในไต การใส่ท่อในทางเดินปัสสาวะ การผ่าตัดทางเดินปัสสาวะ ความผิดปกติในการควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะ
C - CATHETER RF
มีอาการรุนแรง จากการสวนปัสสาวะเป็นเวลานาน ถ่ายปัสสาวะไม่ออก
UROLOGICAL INFECTIONS - LIMITED UPDATE MARCH 2015
http://uroweb.org/wp-content/uploads/19-Urological-infections_LR2.pdf
BT-UTI-02
1
Add a comment...
UTI สามารถแบ่งได้ตามรูป เช่น
CY-1R เกิดจากเชื้อ E.coli สามารถกลับเป็นซ้ำได้ รักษาได้ด้วยยาฆ่าเชื้อมาตรฐาน
PN-3U เกิดจากเชื้อ K.pneumonia ทำให้กรวยไตอักเสบรุนแรง มีไข้สูง อาเจียน โดยมีโรคในระบบทางเดินปัสสาวะอื่นร่วมด้วย รักษาด้วยยาฆ่าเชื้ออย่างกลาง
US-5C จากเชื้อ Enterococcus ทำให้เกิดการติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ ใช้ยาฆ่าเชื้อเฉพาะกลุ่ม
UROLOGICAL INFECTIONS - LIMITED UPDATE MARCH 2015
http://uroweb.org/wp-content/uploads/19-Urological-infections_LR2.pdf
BT-UTI-03
CY-1R เกิดจากเชื้อ E.coli สามารถกลับเป็นซ้ำได้ รักษาได้ด้วยยาฆ่าเชื้อมาตรฐาน
PN-3U เกิดจากเชื้อ K.pneumonia ทำให้กรวยไตอักเสบรุนแรง มีไข้สูง อาเจียน โดยมีโรคในระบบทางเดินปัสสาวะอื่นร่วมด้วย รักษาด้วยยาฆ่าเชื้ออย่างกลาง
US-5C จากเชื้อ Enterococcus ทำให้เกิดการติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ ใช้ยาฆ่าเชื้อเฉพาะกลุ่ม
UROLOGICAL INFECTIONS - LIMITED UPDATE MARCH 2015
http://uroweb.org/wp-content/uploads/19-Urological-infections_LR2.pdf
BT-UTI-03
1
Add a comment...
CYSTITIS AND PYELONEPHRITIS
กระเพาะปัสสาวะอักเสบ และ กรวยไตอักเสบ
Acute episode of uncomplicated cystitis (lower UTI) in adults
กระเพาะปัสสาวะอักเสบ (cystitis) เป็นการอักเสบของกระเพาะปัสสาวะ หรือกลุ่มอาการที่ประกอบด้วยปัสสาวะขัดที่เกิดทันที ปัสสาวะบ่อย ปวดปัสสาวะต้องรีบปัสสาวะ (urgency) และปวดบริเวณท้องน้อย (suprapubic pain)
ผู้ชายอายุระหว่าง 15-50 ปี พบน้อยมาก ที่จะเป็นกระเพาะปัสสาวะอักเสบเฉียบพลัน
ส่วนผู้หญิงจะเริ่มพบได้ตั้งแต่อายุ 24 ปีขึ้นไป
Recurrent uncomplicated UTIs in adult women (rUTI)
ในผู้หญิงการกลับเป็นซ้ำจะมีสาเหตุต่างกัน เช่น อั้นฉี่ จากยาฆ่าเชื้ออสุจิในถุงยางอนามัย มีคู่นอนคนใหม่
หญิงวัยทอง กระเพาะปัสสาวะอักเสบอาจมีสาเหตุจาก ช่องคลอดแห้งจากการลดลงของเอสโตรเจน การมีปริมาณปัสสาวะคั่งในกระเพาะปัสสาวะเพิ่มขึ้นเนื่องจากวัยที่สูงขึ้น การสวนปัสสาวะ
ส่วนในผู้ชาย อาจมีสาเหตุจากต่อมลูกหมากอักเสบเรื้อรัง การสวนปัสสาวะ และอื่นๆ
การป้องกันการกลับเป็นซ้ำ ทำได้โดย
1. ดื่มน้ำมากๆ อย่าอั้นฉี่
2. เช็ดหรือล้างจากหน้าไปหลัง
3. ดื่มน้ำ 1 แก้ว ก่อนมีเพศสัมพันธ์ ใช้ครีมหล่อลื่นช่่องคลอด หลังจากมีเพศสัมพันธ์แล้ว ให้รีบปัสสาวะออกทันที
4. ใช้ เอสโตรเจนทาช่องคลอดในหญิงสูงอายุ เพื่อป้องกันการระคายเคืองที่ช่องคลอด
5. กิน probiotics (Lactobacillus sp) แต่การกินเป็นประจำ ไม่สามารถลดการกลับเป็นซ้ำของโรคได้
6. cranberry ไม่ได้ทำให้การเกิดโรคลดลงอย่างมีเด่นชัด จึงไม่จำเป็นที่จะต้องกินเป็นประจำ
7. การป้องกันด้วยยาฆ่าเชื้อด้วยการกินยาครั้งเดียวหลังมีเพศสัมพันธ์ในหญิงมีครรภ์ หรือ กินยาติดต่อกันนาน 3-6 เดือน ซึ่งจะใช้ก็ต่อเมื่อป้องกันด้วยวิธีอื่นแล้วไม่ได้ผล
UROLOGICAL INFECTIONS - LIMITED UPDATE MARCH 2015
http://uroweb.org/wp-content/uploads/19-Urological-infections_LR2.pdf
BT-UTI-04
กระเพาะปัสสาวะอักเสบ และ กรวยไตอักเสบ
Acute episode of uncomplicated cystitis (lower UTI) in adults
กระเพาะปัสสาวะอักเสบ (cystitis) เป็นการอักเสบของกระเพาะปัสสาวะ หรือกลุ่มอาการที่ประกอบด้วยปัสสาวะขัดที่เกิดทันที ปัสสาวะบ่อย ปวดปัสสาวะต้องรีบปัสสาวะ (urgency) และปวดบริเวณท้องน้อย (suprapubic pain)
ผู้ชายอายุระหว่าง 15-50 ปี พบน้อยมาก ที่จะเป็นกระเพาะปัสสาวะอักเสบเฉียบพลัน
ส่วนผู้หญิงจะเริ่มพบได้ตั้งแต่อายุ 24 ปีขึ้นไป
Recurrent uncomplicated UTIs in adult women (rUTI)
ในผู้หญิงการกลับเป็นซ้ำจะมีสาเหตุต่างกัน เช่น อั้นฉี่ จากยาฆ่าเชื้ออสุจิในถุงยางอนามัย มีคู่นอนคนใหม่
หญิงวัยทอง กระเพาะปัสสาวะอักเสบอาจมีสาเหตุจาก ช่องคลอดแห้งจากการลดลงของเอสโตรเจน การมีปริมาณปัสสาวะคั่งในกระเพาะปัสสาวะเพิ่มขึ้นเนื่องจากวัยที่สูงขึ้น การสวนปัสสาวะ
ส่วนในผู้ชาย อาจมีสาเหตุจากต่อมลูกหมากอักเสบเรื้อรัง การสวนปัสสาวะ และอื่นๆ
การป้องกันการกลับเป็นซ้ำ ทำได้โดย
1. ดื่มน้ำมากๆ อย่าอั้นฉี่
2. เช็ดหรือล้างจากหน้าไปหลัง
3. ดื่มน้ำ 1 แก้ว ก่อนมีเพศสัมพันธ์ ใช้ครีมหล่อลื่นช่่องคลอด หลังจากมีเพศสัมพันธ์แล้ว ให้รีบปัสสาวะออกทันที
4. ใช้ เอสโตรเจนทาช่องคลอดในหญิงสูงอายุ เพื่อป้องกันการระคายเคืองที่ช่องคลอด
5. กิน probiotics (Lactobacillus sp) แต่การกินเป็นประจำ ไม่สามารถลดการกลับเป็นซ้ำของโรคได้
6. cranberry ไม่ได้ทำให้การเกิดโรคลดลงอย่างมีเด่นชัด จึงไม่จำเป็นที่จะต้องกินเป็นประจำ
7. การป้องกันด้วยยาฆ่าเชื้อด้วยการกินยาครั้งเดียวหลังมีเพศสัมพันธ์ในหญิงมีครรภ์ หรือ กินยาติดต่อกันนาน 3-6 เดือน ซึ่งจะใช้ก็ต่อเมื่อป้องกันด้วยวิธีอื่นแล้วไม่ได้ผล
UROLOGICAL INFECTIONS - LIMITED UPDATE MARCH 2015
http://uroweb.org/wp-content/uploads/19-Urological-infections_LR2.pdf
BT-UTI-04
1
Add a comment...
หญิงมีครรภ์ที่เป็นกระเพาะปัสสาวะอักเสบ ควรใช้ยาฆ่าเชื้อในระยะสั้น
ส่วนผู้ชายที่เป็นกระเพาะปัสสาวะอักเสบ ควรใช้ยาฆ่าเชื้ออย่างน้อย 7 วัน
จะตรวจเชื้อเมื่อสงสัยว่าเป็นกรวยไตอักเสบเฉียบพลัน กลับเป็นซ้ำภายใน 2-4 สัปดาห์ คนที่ไม่มีอาการ หญิงมีครรภ์ และผู้ชายที่เป็นกระเพาะปัสสาวะอักเสบ
UROLOGICAL INFECTIONS - LIMITED UPDATE MARCH 2015
http://uroweb.org/wp-content/uploads/19-Urological-infections_LR2.pdf
BT-UTI-05
ส่วนผู้ชายที่เป็นกระเพาะปัสสาวะอักเสบ ควรใช้ยาฆ่าเชื้ออย่างน้อย 7 วัน
จะตรวจเชื้อเมื่อสงสัยว่าเป็นกรวยไตอักเสบเฉียบพลัน กลับเป็นซ้ำภายใน 2-4 สัปดาห์ คนที่ไม่มีอาการ หญิงมีครรภ์ และผู้ชายที่เป็นกระเพาะปัสสาวะอักเสบ
UROLOGICAL INFECTIONS - LIMITED UPDATE MARCH 2015
http://uroweb.org/wp-content/uploads/19-Urological-infections_LR2.pdf
BT-UTI-05
1
Add a comment...
Acute uncomplicated pyelonephritis in adults
กรวยไตอักเสบเฉียบพลัน (acute pyelonephritis) มีอาการไข้สูงหนาวสั่น (> 38°C) ปวดเอว คลื่นไส้อาเจียน พบร่วมกับการมีแบคทีเรียในปัสสาวะเป็นหนอง การรวมอาการดังกล่าวข้างต้น จะเป็นเหตุผลบ่งชี้สาหรับการติดเชื้อของแบคทีเรียโดยเฉียบพลันของไต
จะต้องให้ความระมัดระวังในหญิงมีครรภ์ เพราะอาจทำให้คลอดก่อนกำหนดได้
การรักษาด้วยยาจะใช้เวลา 7-10 วัน
ผู้ที่กินยาไปแล้ว 3 วัน อาการไม่ดีขึ้น หรือ กลับเป็นซ้ำอีกภายใน 2 อาทิตย์ จะต้องตรวจเชื้อซ้ำใหม่อีกครั้ง รวมทั้งทดสอบความไวของเชื้อต่อยาฆ่าเชื้อ
UROLOGICAL INFECTIONS - LIMITED UPDATE MARCH 2015
http://uroweb.org/wp-content/uploads/19-Urological-infections_LR2.pdf
BT-UTI-06
กรวยไตอักเสบเฉียบพลัน (acute pyelonephritis) มีอาการไข้สูงหนาวสั่น (> 38°C) ปวดเอว คลื่นไส้อาเจียน พบร่วมกับการมีแบคทีเรียในปัสสาวะเป็นหนอง การรวมอาการดังกล่าวข้างต้น จะเป็นเหตุผลบ่งชี้สาหรับการติดเชื้อของแบคทีเรียโดยเฉียบพลันของไต
จะต้องให้ความระมัดระวังในหญิงมีครรภ์ เพราะอาจทำให้คลอดก่อนกำหนดได้
การรักษาด้วยยาจะใช้เวลา 7-10 วัน
ผู้ที่กินยาไปแล้ว 3 วัน อาการไม่ดีขึ้น หรือ กลับเป็นซ้ำอีกภายใน 2 อาทิตย์ จะต้องตรวจเชื้อซ้ำใหม่อีกครั้ง รวมทั้งทดสอบความไวของเชื้อต่อยาฆ่าเชื้อ
UROLOGICAL INFECTIONS - LIMITED UPDATE MARCH 2015
http://uroweb.org/wp-content/uploads/19-Urological-infections_LR2.pdf
BT-UTI-06
1
Add a comment...
URETHRITIS
ท่อปัสสาวะอักเสบ (urethritis) เป็นการอักเสบของท่อปัสสาวะ ในผู้หญิงอาการที่เกิดจากท่อปัสสาวะอักเสบ มักจะแยกยากจากกระเพาะปัสสาวะอักเสบ และพบน้อยมาก ซึ่งไม่เหมือนกับการอักเสบของท่อปัสสาวะในผู้ชาย เช่น non-gonococcal urethritis
เชื้อที่ทำให้เกิดโรคได้แก่ N. gonorrhoeae (NG), C. trachomatis (CT), Mycoplasma genitalium (MG) และ Trichomonas vaginalis (TV), รวมทั้ง Ureaplasma urealyticum (UU)
ในบางครั้งจะเป็นการติดเชื้อมากกว่า 1 ชนิด จะต้องกินยา 2 ชนิดร่วมกัน
โดย Doxycycline และ azithromycin จะมีประสิทธิภาพเท่าเทียมกันในการฆ่าเชื้อคลามัยเดีย
ส่วน M. genitalium การใช้ azithromycin จะมีประสิทธิภาพดีกว่า
ในหญิงมีครรภ์ทีห้ามใช้ fluoroquinolones และ doxycycline จึงต้องใช้ azithromycin ร่วมกับ amoxicillin 500 mg tid นาน 7 วัน
ถ้าการรักษาไม่ได้ผล ให้นึกถึงการติดเชื้อ T. vaginalis หรือ M. genitalium ซึ่งต้องกินร่วมกับ metronidazole (2 g orally as single dose) และ erythromycin (500 mg orally four times daily for 7 days)
3H.5.2 Treatment of chlamydial urethritis
Standard: azithromycin 1.0-1.5 g p.o. as single dose
Alternative: doxycycline 100 mg bid p.o. for 7 days
3H.5.3 Treatment of Mycoplasma genitalium urethritis
Standard: azithromycin 0.5 g p.o. day 1, 250 mg p.o. day 2-5
Alternative: moxifloxacin 400 mg q.d. for 5 days*
*because of reported failures, some experts recommend 10 to 14 days
3H.5.4 Treatment of Ureaplasma urealyticum urethritis
Standard: doxycycline 100 mg bid p.o. for 7 days
Alternative: azithromycin 1.0-1.5 g p.o. as single dose or clarithromycin 500 mg bid for 7 days
(resistance against macrolides is possible)
3H.5.5 Treatment of Trichomonas vaginalis urethritis
Standard: metronidazole 2 g p.o. as single dose
In case of persistence: 4 g daily for 3-5 days
3H.5.6 Treatment of non-gonococcal urethritis (NGU)*
Standard: doxycycline 100 mg bid p.o. for 7-10 days
Alternative: azithromycin 0.5 g p.o. day 1, 250 mg p.o. day 2-5
*if no agent could be identified
เช่นเดียวกับโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์อื่นๆ ที่จำเป็นต้องรักษาคู่นอนด้วย
ควรงดมีเพศสัมพันธ์นาน 7 วัน
ถึงแม้ว่าจะรักษาหายจากอาการแล้ว อีก 3 เดือนข้างหน้า ควรไปเจาะเลือดตรวจ เพื่อให้แน่ใจว่าไม่มีโรคอื่นแฝงอยู่ เช่น ซิฟิลิส HIV
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานเภสัชกรรมชุมชน 2560
ภก.สมเฮง นรเศรษฐีกุล
BT-UTI-07
ท่อปัสสาวะอักเสบ (urethritis) เป็นการอักเสบของท่อปัสสาวะ ในผู้หญิงอาการที่เกิดจากท่อปัสสาวะอักเสบ มักจะแยกยากจากกระเพาะปัสสาวะอักเสบ และพบน้อยมาก ซึ่งไม่เหมือนกับการอักเสบของท่อปัสสาวะในผู้ชาย เช่น non-gonococcal urethritis
เชื้อที่ทำให้เกิดโรคได้แก่ N. gonorrhoeae (NG), C. trachomatis (CT), Mycoplasma genitalium (MG) และ Trichomonas vaginalis (TV), รวมทั้ง Ureaplasma urealyticum (UU)
ในบางครั้งจะเป็นการติดเชื้อมากกว่า 1 ชนิด จะต้องกินยา 2 ชนิดร่วมกัน
โดย Doxycycline และ azithromycin จะมีประสิทธิภาพเท่าเทียมกันในการฆ่าเชื้อคลามัยเดีย
ส่วน M. genitalium การใช้ azithromycin จะมีประสิทธิภาพดีกว่า
ในหญิงมีครรภ์ทีห้ามใช้ fluoroquinolones และ doxycycline จึงต้องใช้ azithromycin ร่วมกับ amoxicillin 500 mg tid นาน 7 วัน
ถ้าการรักษาไม่ได้ผล ให้นึกถึงการติดเชื้อ T. vaginalis หรือ M. genitalium ซึ่งต้องกินร่วมกับ metronidazole (2 g orally as single dose) และ erythromycin (500 mg orally four times daily for 7 days)
3H.5.2 Treatment of chlamydial urethritis
Standard: azithromycin 1.0-1.5 g p.o. as single dose
Alternative: doxycycline 100 mg bid p.o. for 7 days
3H.5.3 Treatment of Mycoplasma genitalium urethritis
Standard: azithromycin 0.5 g p.o. day 1, 250 mg p.o. day 2-5
Alternative: moxifloxacin 400 mg q.d. for 5 days*
*because of reported failures, some experts recommend 10 to 14 days
3H.5.4 Treatment of Ureaplasma urealyticum urethritis
Standard: doxycycline 100 mg bid p.o. for 7 days
Alternative: azithromycin 1.0-1.5 g p.o. as single dose or clarithromycin 500 mg bid for 7 days
(resistance against macrolides is possible)
3H.5.5 Treatment of Trichomonas vaginalis urethritis
Standard: metronidazole 2 g p.o. as single dose
In case of persistence: 4 g daily for 3-5 days
3H.5.6 Treatment of non-gonococcal urethritis (NGU)*
Standard: doxycycline 100 mg bid p.o. for 7-10 days
Alternative: azithromycin 0.5 g p.o. day 1, 250 mg p.o. day 2-5
*if no agent could be identified
เช่นเดียวกับโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์อื่นๆ ที่จำเป็นต้องรักษาคู่นอนด้วย
ควรงดมีเพศสัมพันธ์นาน 7 วัน
ถึงแม้ว่าจะรักษาหายจากอาการแล้ว อีก 3 เดือนข้างหน้า ควรไปเจาะเลือดตรวจ เพื่อให้แน่ใจว่าไม่มีโรคอื่นแฝงอยู่ เช่น ซิฟิลิส HIV
คู่มือการฝึกปฏิบัติงานเภสัชกรรมชุมชน 2560
ภก.สมเฮง นรเศรษฐีกุล
BT-UTI-07
1
Add a comment...
UROLOGICAL INFECTIONS - LIMITED UPDATE MARCH 2015
http://uroweb.org/wp-content/uploads/19-Urological-infections_LR2.pdf
BT-UTI-08
http://uroweb.org/wp-content/uploads/19-Urological-infections_LR2.pdf
BT-UTI-08
1
Add a comment...
กรณีที่มีอาการปัสสาวะแสบขัด ปัสสาวะบ่อย กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ ปวดบริเวณเหนือหัวเหน่า ปัสสาวะมีลักษณะขุ่น มีกลิ่นผิดปกติ และบางครั้งอาจมีเลือดปนเล็กน้อย แต่ไม่มีอาการไข้ และอาการปวดด้านหลังบริเวณสีข้าง เป็นอาการของโรคที่เรียกว่า กระเพาะปัสสาวะอักเสบชนิดไม่ซับซ้อน (uncomplicated cystitis) ซึ่งสาเหตุมักเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียชนิดแกรมลบ (E. coli ประมาณ 80%)
ยานอร์ฟล็อกซาซิน (norfloxacin) ขนาด ๔๐๐ มิลลิกรัม/เม็ด
หรือโอฟล็อกซาซิน (ofloxacin) ขนาด ๒๐๐ มิลลิกรัม/เม็ด ครั้งละ ๑ เม็ด วันละ ๒ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า เย็น และควร กินติดต่อกัน ๓-๕ วัน ถึงแม้ว่าจะหายดีแล้วก็ไม่ควรหยุดยา ควรกินติดต่อกันจนหมด
นอกจากยาฆ่าเชื้อแบคทีเรียแล้ว ในบางครั้งอาจใช้ยาช่วยบรรเทาอาการปวดท้อง เช่น ยาพาราเซตามอล ยากรดมีเฟนามิก (mefenamic acid) ยาไอบูโพรเฟน (ibuprofen) หรือไฮออสซีน (hyoscine) เพื่อบรรเทาอาการปวดท้องได้ แต่ควรใช้เมื่อมีอาการปวดท้องเท่านั้น ถ้าไม่มีอาการปวดท้องแล้ว ก็ควรหยุดยาเสียเพราะไม่เกิดประโยชน์ อันใดในการรักษา
ในกรณีที่มีอาการไข้สูง และมีอาการปวดด้านหลังบริเวณสีข้างร่วมด้วย เป็นอาการของโรคกรวยไตอักเสบ (pyelonephritis) แนะนำให้รับประทานยาตัวเดิม แต่ให้กินต่อเนื่อง 10-14 วันครับ
https://www.doctor.or.th/article/detail/1288
http://drug.pharmacy.psu.ac.th/Question.asp?ID=6781&gid=7
ยานอร์ฟล็อกซาซิน (norfloxacin) ขนาด ๔๐๐ มิลลิกรัม/เม็ด
หรือโอฟล็อกซาซิน (ofloxacin) ขนาด ๒๐๐ มิลลิกรัม/เม็ด ครั้งละ ๑ เม็ด วันละ ๒ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า เย็น และควร กินติดต่อกัน ๓-๕ วัน ถึงแม้ว่าจะหายดีแล้วก็ไม่ควรหยุดยา ควรกินติดต่อกันจนหมด
นอกจากยาฆ่าเชื้อแบคทีเรียแล้ว ในบางครั้งอาจใช้ยาช่วยบรรเทาอาการปวดท้อง เช่น ยาพาราเซตามอล ยากรดมีเฟนามิก (mefenamic acid) ยาไอบูโพรเฟน (ibuprofen) หรือไฮออสซีน (hyoscine) เพื่อบรรเทาอาการปวดท้องได้ แต่ควรใช้เมื่อมีอาการปวดท้องเท่านั้น ถ้าไม่มีอาการปวดท้องแล้ว ก็ควรหยุดยาเสียเพราะไม่เกิดประโยชน์ อันใดในการรักษา
ในกรณีที่มีอาการไข้สูง และมีอาการปวดด้านหลังบริเวณสีข้างร่วมด้วย เป็นอาการของโรคกรวยไตอักเสบ (pyelonephritis) แนะนำให้รับประทานยาตัวเดิม แต่ให้กินต่อเนื่อง 10-14 วันครับ
https://www.doctor.or.th/article/detail/1288
http://drug.pharmacy.psu.ac.th/Question.asp?ID=6781&gid=7
ยาแก้ขัดเบาขัดเบาคำว่า "ขัดเบา" เป็นคำไทยแท้ มาจากคำว่า "ขัด" และ "เบา" คำว่า "ขัด" ในที่นี้หมายถึงการติดขัด มีอุปสรรค ไม่สะดวกสบาย ส่วนคำว่า "เบา&q
1
Add a comment...
ด้วยความห่วงใย
.....................
BETTER PHARMACY เจ็ดยอด เชียงใหม่
เราคัดสรรสิ่งที่ดี มีคุณภาพ เพื่อคุณ
FACEBOOK/BetterPharmacyCMG
LINE ID - BETTERCM
.....................
UPDATE 2016.07.06
No comments:
Post a Comment