วันเบาหวานโลก ปี 2560 Women and Diabetes
ตามที่สมาพันธ์โรคเบาหวานนานาชาติกำหนดให้วันที่ 14 พฤศจิกายน ของทุกปีเป็นวันเบาหวานโลก
เพื่อเป็นการเน้นย้ำถึงความสำคัญของวันสตรีสากลในวันที่ 8 มีนาคม สหพันธ์โรคเบาหวานนานาชาติ (International Diabetes Federation; IDF) ได้ประกาศแนวทางการรณรงค์ในวันเบาหวานโลกปี 2560 เกี่ยวกับ “เบาหวานและผู้หญิง: สิทธิเพื่อสุขภาพที่ดีในอนาคต”
ในปัจจุบันมีผู้หญิงมากกว่า 199 ล้านคนที่เป็นเบาหวาน คาดว่าจำนวนนี้จะเพิ่มเป็น 313 ล้านคนในปีพ.ศ. 2583
บทบาทของหญิงและชายที่แตกต่างกันในสังคม ส่งผลต่อการเข้าถึงบริการสุขภาพและความใส่ใจในการดูแลสุขภาพของผู้หญิง ซึ่งผลต่อโรค #เบาหวาน ในผู้หญิง
ประเด็นสำคัญ
โรคเบาหวานเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับที่ 9 ของผู้หญิงทั่วโลก คิดเป็นอัตรา 2.1 ล้านคนต่อปี
สภาวะเศรษฐกิจและสังคมโดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศที่กำลังพัฒนา เด็กหญิงและมารดาที่เป็นเบาหวานมีอุปสรรคในการเข้าถึงวิธีป้องกันโรคเบาหวาน การวินิจฉัยตั้งแต่ระยะแรกและการเข้าถึงการดูแลรักษา
ความไม่เท่าเทียมกันทางเศรษฐกิจและสังคมทำให้ผู้หญิงมีความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน เนื่องจากอาหารและโภชนาการที่ไม่ดี การไม่มีกิจกรรมทางกาย การสูบบุหรี่และการดื่ม เครื่องดื่มแอลกอฮอล์จนก่อให้เกิดอันตราย
ผู้หญิงทุก 2 ใน 5 คนที่เป็นเบาหวานอยู่ในวัยเจริญพันธุ์ คิดเป็นจำนวนมากกว่า 60 ล้านคนทั่วโลก
หญิงที่เป็นเบาหวานประสบปัญหามีบุตรยาก
อาจเกิดผลลัพธ์ที่ไม่พึงประสงค์จากการตั้งครรภ์
การตั้งครรภ์โดยไม่ได้วางแผนไว้ล่วงหน้าในผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 1 และ 2 ทำให้อัตราการเสียชีวิตและทุพพลภาพของมารดาและทารกเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ
เด็กที่เกิดมา 1 ใน 7 คน เกิดผลกระทบจากแม่ที่เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ (gestational • diabetes; GDM) เช่น ตัวโตและคลอดลำบาก เป็นต้น
หญิงที่เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์อาจเกิดภัยคุกคามที่รุนแรงต่อสุขภาพเช่น
ความดันโลหิตสูงแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์
อาจเป็นเบาหวานชนิดที่ 2 หลังคลอด
วันเบาหวานโลกในปีพ.ศ. 2560 จึงเป็นการรณรงค์เพื่อให้ความสำคัญของความเท่าเทียมกันในการเข้าถึงยา เทคโนโลยี การให้การศึกษาเพื่อการจัดการกับตนเอง การเข้าถึงข้อมูลที่จำเป็นในผู้หญิงทุกคนที่มีความเสี่ยงที่จะเป็นหรือผู้ที่เป็นเบาหวานแล้ว เพื่อให้มีผลลัพธ์ในการรักษาที่ดีที่สุดและเสริมสร้างขีดความสามารถในการป้องกันโรคเบาหวานชนิดที่ 2
ขอบคุณข้อมูลจาก: สมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทย
สมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกกุมารี
ตามที่สมาพันธ์โรคเบาหวานนานาชาติกำหนดให้วันที่ 14 พฤศจิกายน ของทุกปีเป็นวันเบาหวานโลก
เพื่อเป็นการเน้นย้ำถึงความสำคัญของวันสตรีสากลในวันที่ 8 มีนาคม สหพันธ์โรคเบาหวานนานาชาติ (International Diabetes Federation; IDF) ได้ประกาศแนวทางการรณรงค์ในวันเบาหวานโลกปี 2560 เกี่ยวกับ “เบาหวานและผู้หญิง: สิทธิเพื่อสุขภาพที่ดีในอนาคต”
ในปัจจุบันมีผู้หญิงมากกว่า 199 ล้านคนที่เป็นเบาหวาน คาดว่าจำนวนนี้จะเพิ่มเป็น 313 ล้านคนในปีพ.ศ. 2583
บทบาทของหญิงและชายที่แตกต่างกันในสังคม ส่งผลต่อการเข้าถึงบริการสุขภาพและความใส่ใจในการดูแลสุขภาพของผู้หญิง ซึ่งผลต่อโรค #เบาหวาน ในผู้หญิง
ประเด็นสำคัญ
โรคเบาหวานเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับที่ 9 ของผู้หญิงทั่วโลก คิดเป็นอัตรา 2.1 ล้านคนต่อปี
สภาวะเศรษฐกิจและสังคมโดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศที่กำลังพัฒนา เด็กหญิงและมารดาที่เป็นเบาหวานมีอุปสรรคในการเข้าถึงวิธีป้องกันโรคเบาหวาน การวินิจฉัยตั้งแต่ระยะแรกและการเข้าถึงการดูแลรักษา
ความไม่เท่าเทียมกันทางเศรษฐกิจและสังคมทำให้ผู้หญิงมีความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน เนื่องจากอาหารและโภชนาการที่ไม่ดี การไม่มีกิจกรรมทางกาย การสูบบุหรี่และการดื่ม เครื่องดื่มแอลกอฮอล์จนก่อให้เกิดอันตราย
ผู้หญิงทุก 2 ใน 5 คนที่เป็นเบาหวานอยู่ในวัยเจริญพันธุ์ คิดเป็นจำนวนมากกว่า 60 ล้านคนทั่วโลก
หญิงที่เป็นเบาหวานประสบปัญหามีบุตรยาก
อาจเกิดผลลัพธ์ที่ไม่พึงประสงค์จากการตั้งครรภ์
การตั้งครรภ์โดยไม่ได้วางแผนไว้ล่วงหน้าในผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 1 และ 2 ทำให้อัตราการเสียชีวิตและทุพพลภาพของมารดาและทารกเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ
เด็กที่เกิดมา 1 ใน 7 คน เกิดผลกระทบจากแม่ที่เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ (gestational • diabetes; GDM) เช่น ตัวโตและคลอดลำบาก เป็นต้น
หญิงที่เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์อาจเกิดภัยคุกคามที่รุนแรงต่อสุขภาพเช่น
ความดันโลหิตสูงแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์
อาจเป็นเบาหวานชนิดที่ 2 หลังคลอด
วันเบาหวานโลกในปีพ.ศ. 2560 จึงเป็นการรณรงค์เพื่อให้ความสำคัญของความเท่าเทียมกันในการเข้าถึงยา เทคโนโลยี การให้การศึกษาเพื่อการจัดการกับตนเอง การเข้าถึงข้อมูลที่จำเป็นในผู้หญิงทุกคนที่มีความเสี่ยงที่จะเป็นหรือผู้ที่เป็นเบาหวานแล้ว เพื่อให้มีผลลัพธ์ในการรักษาที่ดีที่สุดและเสริมสร้างขีดความสามารถในการป้องกันโรคเบาหวานชนิดที่ 2
ขอบคุณข้อมูลจาก: สมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทย
สมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกกุมารี
#Diabetes UK ทำคลิปอธิบายการเกิดเบาหวานได้ชัดเจนดี
#เบาหวาน ชนิดที่ 2 (TYPE 2 DIABETES) เกิดจากการที่ไขมันไปบล็อคทำให้อินซูลินทำงานไม่ได้ อินซุลินจึงนำกลูโคสจึงเข้าเซลไม่ได้ เมื่อกลูโคสเข้าเซลไม่ได้ก็ทำให้คั่งอยู่ในเลือด ระดับน้ำตาลในเลือดสูงแต่ระดับน้ำตาลในเซลล์ต่ำ เมื่อระดับน้ำตาลในเซลล์ต่ำร่างกายก็กระตุ้นให้ตับอ่อนสร้างอินซุลินเพิ่มขึ้นเพื่อนำน้ำตาลเข้าสู่เซลล์เพิ่มขึ้น ซึ่งไม่ได้ประโยชน์ เพราะอินซุลินถูกไขมันบล็อกการทำงาน จนเซลล์ขาดพลังงานถึงระดับหนึ่ง ก็จะกระตุ้นให้เกิดการสลายน้ำตาลออกมาจากตับเข้าสู่กระแสเลือด ระดับน้ำตาลในเลือดจึงสูงขึ้น ในขณะที่ระดับน้ำตาลในเซลล์ยังต้่ำอยู่เช่นเดิม เกิดเป็นวงจรอุบาทว์ที่ไม่สามารถแก้ปัญหาได้ เพราะต้นเหตุเกิดจากไขมันอุดตันการทำงานของอินซุลิน
อาการของเบาหวานชนิดที่ 2 คือ หิวน้ำบ่อย ฉี่บ่อย หิวบ่อย ผิวแห้ง ผื่นคัน แผลหายช้า ตาพร่ามัว ไม่มีแรง น้ำหนักลด ชาปลายมือปลายเท้า ซึ่งบางคนจะไม่แสดงอาการ และอาจอยู่กับโรคเบาหวานนานถึง 10 ปี กว่าจะแสดงอาการเหล่านี้ออกมา ซึ่งเป็นผลพวงจากการใช้ชีวิตในปัจจุบัน
ไม่อยากเป็นเบาหวาน ก็จงสำรวจพฤติกรรมเสี่ยง และปรับเปลี่ยนปรับปรุงงดเสียแต่บัดนี้ เพราะทุกอย่างเริ่มต้นได้ด้วยตัวคุณเองในปัจจุบัน
What is diabetes? | Diabetes UK
https://www.youtube.com/watch?v=X9ivR4y03DE
10 Early Warning Signs Of Diabetes
https://www.youtube.com/watch?v=xNZ99qLoCyY
#เบาหวาน ชนิดที่ 2 (TYPE 2 DIABETES) เกิดจากการที่ไขมันไปบล็อคทำให้อินซูลินทำงานไม่ได้ อินซุลินจึงนำกลูโคสจึงเข้าเซลไม่ได้ เมื่อกลูโคสเข้าเซลไม่ได้ก็ทำให้คั่งอยู่ในเลือด ระดับน้ำตาลในเลือดสูงแต่ระดับน้ำตาลในเซลล์ต่ำ เมื่อระดับน้ำตาลในเซลล์ต่ำร่างกายก็กระตุ้นให้ตับอ่อนสร้างอินซุลินเพิ่มขึ้นเพื่อนำน้ำตาลเข้าสู่เซลล์เพิ่มขึ้น ซึ่งไม่ได้ประโยชน์ เพราะอินซุลินถูกไขมันบล็อกการทำงาน จนเซลล์ขาดพลังงานถึงระดับหนึ่ง ก็จะกระตุ้นให้เกิดการสลายน้ำตาลออกมาจากตับเข้าสู่กระแสเลือด ระดับน้ำตาลในเลือดจึงสูงขึ้น ในขณะที่ระดับน้ำตาลในเซลล์ยังต้่ำอยู่เช่นเดิม เกิดเป็นวงจรอุบาทว์ที่ไม่สามารถแก้ปัญหาได้ เพราะต้นเหตุเกิดจากไขมันอุดตันการทำงานของอินซุลิน
อาการของเบาหวานชนิดที่ 2 คือ หิวน้ำบ่อย ฉี่บ่อย หิวบ่อย ผิวแห้ง ผื่นคัน แผลหายช้า ตาพร่ามัว ไม่มีแรง น้ำหนักลด ชาปลายมือปลายเท้า ซึ่งบางคนจะไม่แสดงอาการ และอาจอยู่กับโรคเบาหวานนานถึง 10 ปี กว่าจะแสดงอาการเหล่านี้ออกมา ซึ่งเป็นผลพวงจากการใช้ชีวิตในปัจจุบัน
ไม่อยากเป็นเบาหวาน ก็จงสำรวจพฤติกรรมเสี่ยง และปรับเปลี่ยนปรับปรุงงดเสียแต่บัดนี้ เพราะทุกอย่างเริ่มต้นได้ด้วยตัวคุณเองในปัจจุบัน
What is diabetes? | Diabetes UK
https://www.youtube.com/watch?v=X9ivR4y03DE
10 Early Warning Signs Of Diabetes
https://www.youtube.com/watch?v=xNZ99qLoCyY
What is diabetes? | Diabetes UK
1 4 พ ฤ ศ จิ ก า ย น ข อ ง ทุ ก ปี
วั น เ บ า ห ว า น โ ล ก
สหพันธ์โรคเบาหวานนานาชาติ ได้ประกาศคำขวัญวันเบาหวานโลกปี 2560 คือ “Women and Diabetes: Our Right to a Healthy Future”
และ กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดคำขวัญในการรณรงค์วันเบาหวานโลกปี 2560 คือ “ผู้หญิงและเบาหวาน…ป้องกันวันนี้เพื่อสุขภาพที่ดีในวันหน้า”
วั น เ บ า ห ว า น โ ล ก
สหพันธ์โรคเบาหวานนานาชาติ ได้ประกาศคำขวัญวันเบาหวานโลกปี 2560 คือ “Women and Diabetes: Our Right to a Healthy Future”
และ กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดคำขวัญในการรณรงค์วันเบาหวานโลกปี 2560 คือ “ผู้หญิงและเบาหวาน…ป้องกันวันนี้เพื่อสุขภาพที่ดีในวันหน้า”
1
โครงการปรับมโนทัศน์ในการดูแลสุขภาพ
เจ้าหน้าที่สาธารณสุข อสม. ประชาชนทั่วไป อำเภอบางระกำ
ในการพิชิตโรคอ้วน #เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ระดับไขมันในเลือดผิดปกติ โดยไม่ใช้ยา จากนายแพทย์บุญชัย อิศราพิสิษฐ์
ณ ศูนย์ประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นประจำอำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก
พิชิตโรค โดยไม่ใช้ยา จากนายแพทย์บุญชัย อิศราพิสิษฐ์ (ภาคเช้า) 1/2
https://www.youtube.com/watch?v=E6y7YpHufps
พิชิตโรค โดยไม่ใช้ยา จากนายแพทย์บุญชัย อิศราพิสิษฐ์ (ภาคบ่าย) 2/2
https://www.youtube.com/watch?v=DqtiqbOK7vo
เจ้าหน้าที่สาธารณสุข อสม. ประชาชนทั่วไป อำเภอบางระกำ
ในการพิชิตโรคอ้วน #เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ระดับไขมันในเลือดผิดปกติ โดยไม่ใช้ยา จากนายแพทย์บุญชัย อิศราพิสิษฐ์
ณ ศูนย์ประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นประจำอำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก
พิชิตโรค โดยไม่ใช้ยา จากนายแพทย์บุญชัย อิศราพิสิษฐ์ (ภาคเช้า) 1/2
https://www.youtube.com/watch?v=E6y7YpHufps
พิชิตโรค โดยไม่ใช้ยา จากนายแพทย์บุญชัย อิศราพิสิษฐ์ (ภาคบ่าย) 2/2
https://www.youtube.com/watch?v=DqtiqbOK7vo
พิชิตโรค โดยไม่ใช้ยา จากนายแพทย์บุญชัย อิศราพิสิษฐ์ (ภาคเช้า) 1/2
เรื่องพี่โจนี่ มีอีกประเด็นที่คนสนใจกันเยอะ คือหมอเปิดเผยตอนหลังจากพี่เขาเสียชีวิตว่าผลตรวจพบน้ำตาลสูงถึง 300 ทางเพื่อนๆของพี่โจบอกว่าเขาไม่มีโรคประจำตัวอะไร
อ้างอิง https://goo.gl/kHDBmZ
การที่น้ำตาลสูงนี่เกิดได้จากหลายสาเหตุ อาจจะเกิดจากโรคเรื้อรัง เช่น เบาหวาน หรือสาเหตุอื่นๆ เช่น การกินอาหารที่มีแป้ง น้ำตาลในปริมาณสูงมาก ยาบางชนิด ความเจ็บป่วยหรือโรคบางอย่างเช่น การติดเชื้อ ก็ทำให้น้ำตาลในเลือดสูงได้
อันนี้คงต้องรอดูผลชันสูตรอย่างละเอียดอีกที
แต่ผลของการที่น้ำตาลสูงนี่ มันน่ากลัวมาก
เมื่อน้ำตาลในเลือดสูงมาก มันจะทำให้คนนั้นเยี่ยวบ่อย
แล้วรู้สึกอ่อนเพลีย มึนหัว ตาลาย ตาพร่ามัว และถ้ามีอาการมากๆ ก็อาจถึงขั้นช๊อคเสียชีวิตได้
อันนี้คือกรณีน้ำตาลสูงแบบเฉียบพลัน ซึ่งว่าน่ากลัวแล้ว
ปัญหาน้ำตาลสูงไม่มาก แต่เป็นนานๆน่ากลัวกว่า
เพราะคนที่น้ำตาลสูง แต่ไม่มาก เช่น อาจจะน้ำตาลซัก 180 - 220 บางทีอาจจะไม่มีอาการอะไรเลยก็ได้ แต่การที่น้ำตาลสูงนานๆ มันจะส่งผลกระทบต่อเส้นเลือดทั่วร่างกาย ทำให้เส้นเลือดเปราะ หรือตีบตัน
จนส่งผลกระทบต่ออวัยวะทั่วร่างกาย ไม่ว่าจะสมอง หัวใจ ไต เส้นประสาท ตา แขนขา โดนหมด
ต่อให้ไม่มีอาการอะไร ก็ควรตรวจเช็คสุขภาพประจำปีทุกปี เพราะถ้าเราไม่ตรวจเช็คหาโรคที่เป็นมัจจุราชเงียบแบบเบาหวาน พอมันแสดงอาการออกมา ก็อาจจะสายเกินไปแล้วก็ได้
ปล ตอนจ่าเป็นหนักๆน้ำตาลห้าร้อยเลยแสด ดีรอดมาได้
DramaAddict
อ้างอิง https://goo.gl/kHDBmZ
การที่น้ำตาลสูงนี่เกิดได้จากหลายสาเหตุ อาจจะเกิดจากโรคเรื้อรัง เช่น เบาหวาน หรือสาเหตุอื่นๆ เช่น การกินอาหารที่มีแป้ง น้ำตาลในปริมาณสูงมาก ยาบางชนิด ความเจ็บป่วยหรือโรคบางอย่างเช่น การติดเชื้อ ก็ทำให้น้ำตาลในเลือดสูงได้
อันนี้คงต้องรอดูผลชันสูตรอย่างละเอียดอีกที
แต่ผลของการที่น้ำตาลสูงนี่ มันน่ากลัวมาก
เมื่อน้ำตาลในเลือดสูงมาก มันจะทำให้คนนั้นเยี่ยวบ่อย
แล้วรู้สึกอ่อนเพลีย มึนหัว ตาลาย ตาพร่ามัว และถ้ามีอาการมากๆ ก็อาจถึงขั้นช๊อคเสียชีวิตได้
อันนี้คือกรณีน้ำตาลสูงแบบเฉียบพลัน ซึ่งว่าน่ากลัวแล้ว
ปัญหาน้ำตาลสูงไม่มาก แต่เป็นนานๆน่ากลัวกว่า
เพราะคนที่น้ำตาลสูง แต่ไม่มาก เช่น อาจจะน้ำตาลซัก 180 - 220 บางทีอาจจะไม่มีอาการอะไรเลยก็ได้ แต่การที่น้ำตาลสูงนานๆ มันจะส่งผลกระทบต่อเส้นเลือดทั่วร่างกาย ทำให้เส้นเลือดเปราะ หรือตีบตัน
จนส่งผลกระทบต่ออวัยวะทั่วร่างกาย ไม่ว่าจะสมอง หัวใจ ไต เส้นประสาท ตา แขนขา โดนหมด
ต่อให้ไม่มีอาการอะไร ก็ควรตรวจเช็คสุขภาพประจำปีทุกปี เพราะถ้าเราไม่ตรวจเช็คหาโรคที่เป็นมัจจุราชเงียบแบบเบาหวาน พอมันแสดงอาการออกมา ก็อาจจะสายเกินไปแล้วก็ได้
ปล ตอนจ่าเป็นหนักๆน้ำตาลห้าร้อยเลยแสด ดีรอดมาได้
DramaAddict
1
เวียนมาบรรจบกันทุกๆปี ในวันที่ 14 พฤศจิกายน
"วันเบาหวานโลก" ซึ่งปีนี้เน้นการรณรงค์แก่สตรี ใน Theme: Women and diabetes - our right to a healthy future" เน้นการให้ความรู้แก่สตรีเกี่ยวกับโรคเบาหวาน 👩👧👷♀️🧕
ทางด้านโรคตาที่เกี่ยวข้องกับเบาหวานในสตรีนั้น ก็คงไม่พ้นเรื่องของจอตาเบาหวานขณะตั้งครรภ์นั่นเอง 🤰🤱
ทางเพจสุขภาพตา👁️🗨️ โดยราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย วันนี้ก็เป็นโอกาสที่มาให้เกร็ดความรู้เล็กๆน้อยๆ กับผู้ที่กำลังจะเป็น หรือเตรียมตัวเป็นคุณแม่นะครับ
ในขณะตั้งครรภ์ 🤰 แม่ๆจะมีระดับฮอร์โมนที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก ในด้านหมอตา มีข้อแนะนำให้ "ผู้หญิงที่เป็นเบาหวานที่ต้องการมีบุตร" ได้เข้ารับการตรวจคัดกรองโรคจอตาเบาหวาน (diabetic retinopathy) "ก่อน" การตั้งครรภ์ 👰👩❤️💋👨 เอาตั้งแต่วางแผนกันเลย หรืออย่างช้าก็เมื่อรู้ว่าตั้งครรภ์ เพราะโรคจอตาเบาหวานขณะตั้งครรภ์ จะมีการดำเนินของโรคไปในทางที่แย่ลงรวดเร็วกว่าในภาวะปกติ 😱😱😱
หากผู้ที่จะเตรียมเป็นคุณแม่ได้รับการตรวจพบโรคจอตาเบาหวานในระยะรุนแรงก่อนการตั้งครรภ์ (ภาวะเบาหวานขึ้นตาที่รุนแรงอาจเกิดในคนที่ระดับการมองเห็นยังปกติได้ เพราะฉะนั้นการตรวจคัดกรองจึงเป็นสิ่งจำเป็น) อาจต้องได้รับการรักษาก่อนเริ่มการตั้งครรภ์เพื่อประโยชน์ต่อหญิงนั้น และลดโอกาสเสีี่ยงผลแทรกซ้อนจากการรักษาจอตาเบาหวานต่อเด็กในครรภ์ด้วย
หรือหากตรวจพบในระยะเริ่มต้น ก็จะเป็นการกระตุ้นเตือนหญิงนั้น และแพทย์ผู้ดูแลให้ตรวจติดตามโรคเบาหวานจอตาใกล้ชิดมากขึ้นในระหว่างตั้งครรภ์ ในภาวะเบาหวานขึ้นตาระยะเบื้องต้นโดยปกติจะแนะนำให้ผู้เป็นจอตาเบาหวานนั้นตรวจติดตามทุก 9-12 เดือน แต่ในขณะตั้งครรภ์อาจต้องดูแลใกล้ชิดทุก 3-6 เดือน และดูแลกันใกล้ชิดกว่านี้หากเป็นระยะโรคที่รุนแรงขึ้น🤔🤔
แต่หากท่านที่กำลังจะเป็นแม่ แต่ไม่ได้เป็นเบาหวานมาก่อนแน่ๆ แต่เมื่อตั้งครรภ์แล้วมีภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์ (gestational diabetes) ก็ไม่ต้องกังวลเรื่องจอตาเบาหวานนะครับ เพราะการเป็นจอตาเบาหวาน จริงๆแล้วต้องใช้เวลาในการเกิดโรค การเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์เท่านั้นพอคลอดแล้วระดับน้ำตาลเป็นปกติ การเกิดโรคแทรกซ้อนทางตามักไม่เกิดขึ้น
วันนี้ขอเสนอเกร็ดความรู้เล็กๆน้อยๆ แค่นี้ก่อน ไว้ติดตามเกร็ดเล็กๆ เรื่องเบาหวานกับดวงตาตลอดเดือนพฤศจิกายนนี้นะครับ
-------------------------------------------------------
บทความโดย พ.ต.นพ.ศีตธัช วงศ์กุลศิริ
RCOPT
"วันเบาหวานโลก" ซึ่งปีนี้เน้นการรณรงค์แก่สตรี ใน Theme: Women and diabetes - our right to a healthy future" เน้นการให้ความรู้แก่สตรีเกี่ยวกับโรคเบาหวาน 👩👧👷♀️🧕
ทางด้านโรคตาที่เกี่ยวข้องกับเบาหวานในสตรีนั้น ก็คงไม่พ้นเรื่องของจอตาเบาหวานขณะตั้งครรภ์นั่นเอง 🤰🤱
ทางเพจสุขภาพตา👁️🗨️ โดยราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย วันนี้ก็เป็นโอกาสที่มาให้เกร็ดความรู้เล็กๆน้อยๆ กับผู้ที่กำลังจะเป็น หรือเตรียมตัวเป็นคุณแม่นะครับ
ในขณะตั้งครรภ์ 🤰 แม่ๆจะมีระดับฮอร์โมนที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก ในด้านหมอตา มีข้อแนะนำให้ "ผู้หญิงที่เป็นเบาหวานที่ต้องการมีบุตร" ได้เข้ารับการตรวจคัดกรองโรคจอตาเบาหวาน (diabetic retinopathy) "ก่อน" การตั้งครรภ์ 👰👩❤️💋👨 เอาตั้งแต่วางแผนกันเลย หรืออย่างช้าก็เมื่อรู้ว่าตั้งครรภ์ เพราะโรคจอตาเบาหวานขณะตั้งครรภ์ จะมีการดำเนินของโรคไปในทางที่แย่ลงรวดเร็วกว่าในภาวะปกติ 😱😱😱
หากผู้ที่จะเตรียมเป็นคุณแม่ได้รับการตรวจพบโรคจอตาเบาหวานในระยะรุนแรงก่อนการตั้งครรภ์ (ภาวะเบาหวานขึ้นตาที่รุนแรงอาจเกิดในคนที่ระดับการมองเห็นยังปกติได้ เพราะฉะนั้นการตรวจคัดกรองจึงเป็นสิ่งจำเป็น) อาจต้องได้รับการรักษาก่อนเริ่มการตั้งครรภ์เพื่อประโยชน์ต่อหญิงนั้น และลดโอกาสเสีี่ยงผลแทรกซ้อนจากการรักษาจอตาเบาหวานต่อเด็กในครรภ์ด้วย
หรือหากตรวจพบในระยะเริ่มต้น ก็จะเป็นการกระตุ้นเตือนหญิงนั้น และแพทย์ผู้ดูแลให้ตรวจติดตามโรคเบาหวานจอตาใกล้ชิดมากขึ้นในระหว่างตั้งครรภ์ ในภาวะเบาหวานขึ้นตาระยะเบื้องต้นโดยปกติจะแนะนำให้ผู้เป็นจอตาเบาหวานนั้นตรวจติดตามทุก 9-12 เดือน แต่ในขณะตั้งครรภ์อาจต้องดูแลใกล้ชิดทุก 3-6 เดือน และดูแลกันใกล้ชิดกว่านี้หากเป็นระยะโรคที่รุนแรงขึ้น🤔🤔
แต่หากท่านที่กำลังจะเป็นแม่ แต่ไม่ได้เป็นเบาหวานมาก่อนแน่ๆ แต่เมื่อตั้งครรภ์แล้วมีภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์ (gestational diabetes) ก็ไม่ต้องกังวลเรื่องจอตาเบาหวานนะครับ เพราะการเป็นจอตาเบาหวาน จริงๆแล้วต้องใช้เวลาในการเกิดโรค การเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์เท่านั้นพอคลอดแล้วระดับน้ำตาลเป็นปกติ การเกิดโรคแทรกซ้อนทางตามักไม่เกิดขึ้น
วันนี้ขอเสนอเกร็ดความรู้เล็กๆน้อยๆ แค่นี้ก่อน ไว้ติดตามเกร็ดเล็กๆ เรื่องเบาหวานกับดวงตาตลอดเดือนพฤศจิกายนนี้นะครับ
-------------------------------------------------------
บทความโดย พ.ต.นพ.ศีตธัช วงศ์กุลศิริ
RCOPT
อายุมากกว่า 40 ปี ควรตรวจค่าน้ำตาลในเลือดทุก 3 ปี
ส่วนอายุระหว่าง 18 - 39 ปี ก็ยังมัความสี่ยงของการเป็นเบาหวาน
ซึ่งสามารถตรวจสอบได้ตามบททดสอบนี้
https://www.healthhub.sg/programmes/DRA
Are you currently at risk of Type 2 #diabetes ? Find out now!
The Diabetes Risk Assessment is developed for people between 18-39 years old. If you are above 40 years old, it is recommended that you go for cardiovascular risk screening (including diabetes) every 3 years.
https://www.healthhub.sg/programmes/DRA
It is recommended that you repeat the Diabetes Risk Assessment (DRA) once every two years, or earlier if there are changes to any risk factors such as:
• Your weight
• High blood pressure
• Diagnosis of gestational diabetes during pregnancy (for females)
• Diagnosis of Type 2 diabetes in your immediate family
A sedentary lifestyle and excessive consumption of sugary beverages may increase your risk of developing Type 2 diabetes
• Aim for 150 mins of physical activity (moderate intensity) every week
• Choose drinks with no or less sugar whenever possible. Even better, choose water!
#เบาหวาน
ส่วนอายุระหว่าง 18 - 39 ปี ก็ยังมัความสี่ยงของการเป็นเบาหวาน
ซึ่งสามารถตรวจสอบได้ตามบททดสอบนี้
https://www.healthhub.sg/programmes/DRA
Are you currently at risk of Type 2 #diabetes ? Find out now!
The Diabetes Risk Assessment is developed for people between 18-39 years old. If you are above 40 years old, it is recommended that you go for cardiovascular risk screening (including diabetes) every 3 years.
https://www.healthhub.sg/programmes/DRA
It is recommended that you repeat the Diabetes Risk Assessment (DRA) once every two years, or earlier if there are changes to any risk factors such as:
• Your weight
• High blood pressure
• Diagnosis of gestational diabetes during pregnancy (for females)
• Diagnosis of Type 2 diabetes in your immediate family
A sedentary lifestyle and excessive consumption of sugary beverages may increase your risk of developing Type 2 diabetes
• Aim for 150 mins of physical activity (moderate intensity) every week
• Choose drinks with no or less sugar whenever possible. Even better, choose water!
#เบาหวาน
Public
15 Nov 2016
คนเป็นโรคเบาหวาน ควรเปลี่ยนอิริยาบท ทำกิจกรรมเบาๆทุกครึ่งชั่วโมง เช่น เดิน ขยับแข้งขยับขา เพื่อให้มีการใช้น้ำตาลเพิ่มขึ้น
Under new guidelines from the American Diabetes Association, diabetics should do light physical activity every 30 minutes, not every 90 minutes as previously recommended. The new recommendation calls for three or more minutes of light activity, such as walking, leg extensions or overhead arm stretches, every 30 minutes during prolonged sedentary activities for improved blood sugar management.
"This movement should be in addition to regular exercise, as it is highly recommended for people with diabetes to be active," lead author Sheri Colberg-Ochs says. "Since incorporating more daily physical activity can mean different things to different people with diabetes, these guidelines offer excellent suggestions on what to do, why to do it and how to do it safely."
The guidelines also emphasize specific types of exercise - aerobic exercise, resistance training, flexibility and balance training and general lifestyle activity. They also elaborate on how each type of exercise helps patients. Click here for the ADA's news release.
http://www.diabetes.org/newsroom/press-releases/2016/ada-issues-new-recommendations-on-physical-activity-and-exercise.html
Under new guidelines from the American Diabetes Association, diabetics should do light physical activity every 30 minutes, not every 90 minutes as previously recommended. The new recommendation calls for three or more minutes of light activity, such as walking, leg extensions or overhead arm stretches, every 30 minutes during prolonged sedentary activities for improved blood sugar management.
"This movement should be in addition to regular exercise, as it is highly recommended for people with diabetes to be active," lead author Sheri Colberg-Ochs says. "Since incorporating more daily physical activity can mean different things to different people with diabetes, these guidelines offer excellent suggestions on what to do, why to do it and how to do it safely."
The guidelines also emphasize specific types of exercise - aerobic exercise, resistance training, flexibility and balance training and general lifestyle activity. They also elaborate on how each type of exercise helps patients. Click here for the ADA's news release.
http://www.diabetes.org/newsroom/press-releases/2016/ada-issues-new-recommendations-on-physical-activity-and-exercise.html
Public
12 Apr 2016
อนามัยโลกชี้ โลกมีผู้ป่วยเบาหวานเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
องค์การอนามัยโลกเปิดเผยรายงานที่ระบุว่า ปัจจุบันผู้ใหญ่ 1 ใน 11 คน หรือ 8.5% ป่วยเป็นโรคเบาหวาน โดยจำนวนผู้เป็นเบาหวานทั่วโลกเพิ่มขึ้นเกือบ 4 เท่า คือจาก 108 ล้านคนในปี 2523 มาเป็น 422 ล้านคนในปี 2557
รายงานฉบับนี้ ครอบคลุมทั้งเบาหวานชนิดที่ 1 และชนิดที่ 2 แต่พบว่าจำนวนผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 พุ่งสูงขึ้นเป็นอย่างมาก โดยเบาหวานชนิดนี้มีสาเหตุหลักมาจากน้ำหนักตัวเกินและออกกำลังกายไม่เพียงพอ ซึ่งกลุ่มประเทศที่มีรายได้ต่ำและปานกลางพบปัญหานี้มากที่สุด ขณะที่ตะวันออกกลางเป็นภูมิภาคที่มีจำนวนผู้ใหญ่ป่วยเป็นเบาหวานพุ่งสูงสุด คือจาก 6 ล้านคนเป็น 43 ล้านคน
นอกจากนี้ รายงานยังระบุว่า โรคเบาหวานเพียงอย่างเดียวคร่าชีวิตผู้คนปีละ 1.5 ล้านคน ทำให้โรคนี้อยู่ในอันดับที่ 8 ของโรคที่คร่าชีวิตผู้คนทั่วโลกมากที่สุด ขณะที่ภาวะระดับน้ำตาลในเลือดสูงเป็นสาเหตุที่ทำให้มีผู้เสียชีวิตปีละ 2.2 ล้านคน ซึ่งในจำนวนนี้ 43% เสียชีวิตก่อนอายุ 70 ปี
ดร.เอเตียน ครูก ขององค์การอนามัยโลก บอกกับบีบีซีว่า เบาหวานเป็นเพชฌฆาตเงียบที่เราจำเป็นต้องหยุดยั้งด้วยการที่สังคมร่วมมือกันอย่างจริงจัง โดยเขาเรียกร้องให้ผู้คนหันมาดูแลสุขภาพด้วยการทานอาหารที่มีประโยชน์ ออกกำลังกายสม่ำเสมอ และควบคุมไม่ให้มีน้ำหนักตัวเกิน พร้อมกันนี้ยังขอให้รัฐบาลควบคุมอาหารที่มีไขมันและน้ำตาลสูง รวมทั้งเรียกร้องให้อุตสาหกรรมอาหารดำเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อสังคม โดยการลดปริมาณไขมันและน้ำตาลในอาหารที่ผลิต และหยุดโฆษณาอาหารที่ไม่ดีต่อสุขภาพในหมู่คนหนุ่มสาว
องค์การอนามัยโลกเปิดเผยรายงานที่ระบุว่า ปัจจุบันผู้ใหญ่ 1 ใน 11 คน หรือ 8.5% ป่วยเป็นโรคเบาหวาน โดยจำนวนผู้เป็นเบาหวานทั่วโลกเพิ่มขึ้นเกือบ 4 เท่า คือจาก 108 ล้านคนในปี 2523 มาเป็น 422 ล้านคนในปี 2557
รายงานฉบับนี้ ครอบคลุมทั้งเบาหวานชนิดที่ 1 และชนิดที่ 2 แต่พบว่าจำนวนผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 พุ่งสูงขึ้นเป็นอย่างมาก โดยเบาหวานชนิดนี้มีสาเหตุหลักมาจากน้ำหนักตัวเกินและออกกำลังกายไม่เพียงพอ ซึ่งกลุ่มประเทศที่มีรายได้ต่ำและปานกลางพบปัญหานี้มากที่สุด ขณะที่ตะวันออกกลางเป็นภูมิภาคที่มีจำนวนผู้ใหญ่ป่วยเป็นเบาหวานพุ่งสูงสุด คือจาก 6 ล้านคนเป็น 43 ล้านคน
นอกจากนี้ รายงานยังระบุว่า โรคเบาหวานเพียงอย่างเดียวคร่าชีวิตผู้คนปีละ 1.5 ล้านคน ทำให้โรคนี้อยู่ในอันดับที่ 8 ของโรคที่คร่าชีวิตผู้คนทั่วโลกมากที่สุด ขณะที่ภาวะระดับน้ำตาลในเลือดสูงเป็นสาเหตุที่ทำให้มีผู้เสียชีวิตปีละ 2.2 ล้านคน ซึ่งในจำนวนนี้ 43% เสียชีวิตก่อนอายุ 70 ปี
ดร.เอเตียน ครูก ขององค์การอนามัยโลก บอกกับบีบีซีว่า เบาหวานเป็นเพชฌฆาตเงียบที่เราจำเป็นต้องหยุดยั้งด้วยการที่สังคมร่วมมือกันอย่างจริงจัง โดยเขาเรียกร้องให้ผู้คนหันมาดูแลสุขภาพด้วยการทานอาหารที่มีประโยชน์ ออกกำลังกายสม่ำเสมอ และควบคุมไม่ให้มีน้ำหนักตัวเกิน พร้อมกันนี้ยังขอให้รัฐบาลควบคุมอาหารที่มีไขมันและน้ำตาลสูง รวมทั้งเรียกร้องให้อุตสาหกรรมอาหารดำเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อสังคม โดยการลดปริมาณไขมันและน้ำตาลในอาหารที่ผลิต และหยุดโฆษณาอาหารที่ไม่ดีต่อสุขภาพในหมู่คนหนุ่มสาว
Public
28 Apr 2016
1) เบาหวานเพิ่ม risk ต่อการเกิดกระดูกพรุนและกระดูกหัก
2) เลือกยาให้ถูก ในรายที่เป็นกระดูกพรุน มีความเสี่ยงที่จะเกิดกระดูกหักสูง หรือในคนที่หักมาแล้ว ช่วยดูด้วยว่ามียาเบาหวานที่ส่งผลเสียหรือไม่ และปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมครับ
...............................
วันนี้เช้าได้บรรยายเรื่อง Diabetes and Osteoporosis ในงานประชุมประจำปีราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทยครับ
ระหว่างรอขึ้นเครื่องบินกลับบ้าน เลยขอเขียนสรุปยารักษาเบาหวานกับผลกระทบต่อกระดูก สั้นๆ นะครับ
อย่างน้อยจะได้ทำเกิด awareness ในการเลือกใช้ยา เพราะยาบางตัวอาจส่งให้ผู้ป่วยเบาหวานเกิดกระดูกหักมากขึ้น
1. Insulin: โดยกลไกจะทำให้ความหนาแน่นของกระดูกเพิ่มขึ้น จากการกระตุ้นการทำงานของ osteoblast แต่ผลออกมาพบว่าผู้ป่วยเบาหวานที่ฉีด insulin เกิดกระดูกหักมากขึ้น สาเหตุมักเกิดจาก hypoglycemia, duration ที่เป็นมานาน, และมักจะมีภาวะแทกซ้อนจากเบาหวานอยู่แล้ว
2. SU : กระตุ้นการหลั่ง insulin ซึ่งน่าจะมีผลดีต่อกระดูก แต่มีการศึกษาน้อยและส่วนใหญ่ออกมาว่า Neutral ต่อกระดูกครับ
3. Metformin: ส้มหล่นอีกแล้วครับ จากการกระตุ้น AMPK มีผลทั้งเพิ่ม bone formation ผ่านทาง RUNX2 ทำให้ MSC (mesenchymal stem cell) เจริญไปเป็น mature osteoblast รวมทั้งทำให้ลด RANKL และเพิ่ม OPG ทำให้ bone resorption ลดลง ผลการศึกษาทางคลินิก อย่างน้อย 3 studies ใหญ่ที่พบว่าลดการเกิดกระดูกหักได้ 20-40%
4. Alpha glucosidase inhibitor: ไม่มีการศึกษามากนัก แต่ที่ออกมาคือ Neutral
5. TZDs ทั้ง Rosiglitazone และ Pioglitazone ทำให้ความหนาแน่นของกระดูกลดลง เพิ่ม bone turnover, bone loss และเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดกระดูกหักชัดเจน เกิดจากการที่ PPARgamma ไปทำให้ MSC เปลี่ยนไปเป็น adipocyte เพิ่มขึ้นเลยทำให้เจริญไปเป็น osteoblast ลดลง นอกจากนี้ยังไม่ยับยั้ง RUNX2 เลยทำให้ bone formation ลดลง
6.GL-1 RA: GLP1 จะยับยั้ง bone resorption ในขณะที่ GLP2 and GIP กระตุ้น ผลออกมาไปในทางคลินิกจริงๆ น่าจะดี แต่กลับกลายเป็นแค่ neutral เป็นส่วนใหญ่
7. DDP-4 inh: ผลออกมากจาก meta-analysis ลดกระดูกหักได้..ส้มหล่น แต่ study ยังไม่ strong มากพอที่จะทำให้ผมคล้อยตามมากนัก
8. SGLT2 inh ยาจะยับยั้งการดูดกลับ Na + glucose ที่ proximal tubule เลยทำให้มีการดูดกลับ Na คืน แต่มันพา phosphate เข้ามาด้วยทาง Na-P cotransport พอ P เพิ่ม ทำให้ PTH and FGF-23 เพิ่ม.. PTH ทำให้ bone resorption แม้ว่าจะทำให้ 1,25OH2D เพิ่ม แต่ FGF-23 ทำให้ 1,25OH2D ลด แต่อิทธิพลของ PTH ที่เพิ่มเลยส่งเสียต่อ bone มากกว่า และจากการศึกษาดูเหมือนว่า net แล้วทำให้ 1.25 OH2D ลดลง เลยทำให้กระดูกหัก ผลจาก clnical studies พบว่า Canagliflozin ทำให้กระดูกหักเพิ่ม DAPA ทำให้กระดูกหักเพิ่มในคนที่มี moderate renal impairment (GFR <60) ส่วน EMPA ยังไม่มีข้อมูลว่าเพิ่มการหัก
เป็นข้อมูลสรุปสั้นๆ และคิดว่าเป็น practical point ที่สำคัญครับ
ต่อไปนี้เวลาเจอคนไข้เบาหวาน ผมฝาก 2 ข้อให้นึกถึง
1) เบาหวานเพิ่ม risk ต่อการเกิดกระดูกพรุนและกระดูกหัก
2) เลือกยาให้ถูก ในรายที่เป็นกระดูกพรุน มีความเสี่ยงที่จะเกิดกระดูกหักสูง หรือในคนที่หักมาแล้ว ช่วยดูด้วยว่ามียาเบาหวานที่ส่งผลเสียหรือไม่ และปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมครับ
Endocrinology by Prof. Chatlert Pongchaiyakul
https://www.facebook.com/Endocrinologyreview/posts/1256170064400846
2) เลือกยาให้ถูก ในรายที่เป็นกระดูกพรุน มีความเสี่ยงที่จะเกิดกระดูกหักสูง หรือในคนที่หักมาแล้ว ช่วยดูด้วยว่ามียาเบาหวานที่ส่งผลเสียหรือไม่ และปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมครับ
...............................
วันนี้เช้าได้บรรยายเรื่อง Diabetes and Osteoporosis ในงานประชุมประจำปีราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทยครับ
ระหว่างรอขึ้นเครื่องบินกลับบ้าน เลยขอเขียนสรุปยารักษาเบาหวานกับผลกระทบต่อกระดูก สั้นๆ นะครับ
อย่างน้อยจะได้ทำเกิด awareness ในการเลือกใช้ยา เพราะยาบางตัวอาจส่งให้ผู้ป่วยเบาหวานเกิดกระดูกหักมากขึ้น
1. Insulin: โดยกลไกจะทำให้ความหนาแน่นของกระดูกเพิ่มขึ้น จากการกระตุ้นการทำงานของ osteoblast แต่ผลออกมาพบว่าผู้ป่วยเบาหวานที่ฉีด insulin เกิดกระดูกหักมากขึ้น สาเหตุมักเกิดจาก hypoglycemia, duration ที่เป็นมานาน, และมักจะมีภาวะแทกซ้อนจากเบาหวานอยู่แล้ว
2. SU : กระตุ้นการหลั่ง insulin ซึ่งน่าจะมีผลดีต่อกระดูก แต่มีการศึกษาน้อยและส่วนใหญ่ออกมาว่า Neutral ต่อกระดูกครับ
3. Metformin: ส้มหล่นอีกแล้วครับ จากการกระตุ้น AMPK มีผลทั้งเพิ่ม bone formation ผ่านทาง RUNX2 ทำให้ MSC (mesenchymal stem cell) เจริญไปเป็น mature osteoblast รวมทั้งทำให้ลด RANKL และเพิ่ม OPG ทำให้ bone resorption ลดลง ผลการศึกษาทางคลินิก อย่างน้อย 3 studies ใหญ่ที่พบว่าลดการเกิดกระดูกหักได้ 20-40%
4. Alpha glucosidase inhibitor: ไม่มีการศึกษามากนัก แต่ที่ออกมาคือ Neutral
5. TZDs ทั้ง Rosiglitazone และ Pioglitazone ทำให้ความหนาแน่นของกระดูกลดลง เพิ่ม bone turnover, bone loss และเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดกระดูกหักชัดเจน เกิดจากการที่ PPARgamma ไปทำให้ MSC เปลี่ยนไปเป็น adipocyte เพิ่มขึ้นเลยทำให้เจริญไปเป็น osteoblast ลดลง นอกจากนี้ยังไม่ยับยั้ง RUNX2 เลยทำให้ bone formation ลดลง
6.GL-1 RA: GLP1 จะยับยั้ง bone resorption ในขณะที่ GLP2 and GIP กระตุ้น ผลออกมาไปในทางคลินิกจริงๆ น่าจะดี แต่กลับกลายเป็นแค่ neutral เป็นส่วนใหญ่
7. DDP-4 inh: ผลออกมากจาก meta-analysis ลดกระดูกหักได้..ส้มหล่น แต่ study ยังไม่ strong มากพอที่จะทำให้ผมคล้อยตามมากนัก
8. SGLT2 inh ยาจะยับยั้งการดูดกลับ Na + glucose ที่ proximal tubule เลยทำให้มีการดูดกลับ Na คืน แต่มันพา phosphate เข้ามาด้วยทาง Na-P cotransport พอ P เพิ่ม ทำให้ PTH and FGF-23 เพิ่ม.. PTH ทำให้ bone resorption แม้ว่าจะทำให้ 1,25OH2D เพิ่ม แต่ FGF-23 ทำให้ 1,25OH2D ลด แต่อิทธิพลของ PTH ที่เพิ่มเลยส่งเสียต่อ bone มากกว่า และจากการศึกษาดูเหมือนว่า net แล้วทำให้ 1.25 OH2D ลดลง เลยทำให้กระดูกหัก ผลจาก clnical studies พบว่า Canagliflozin ทำให้กระดูกหักเพิ่ม DAPA ทำให้กระดูกหักเพิ่มในคนที่มี moderate renal impairment (GFR <60) ส่วน EMPA ยังไม่มีข้อมูลว่าเพิ่มการหัก
เป็นข้อมูลสรุปสั้นๆ และคิดว่าเป็น practical point ที่สำคัญครับ
ต่อไปนี้เวลาเจอคนไข้เบาหวาน ผมฝาก 2 ข้อให้นึกถึง
1) เบาหวานเพิ่ม risk ต่อการเกิดกระดูกพรุนและกระดูกหัก
2) เลือกยาให้ถูก ในรายที่เป็นกระดูกพรุน มีความเสี่ยงที่จะเกิดกระดูกหักสูง หรือในคนที่หักมาแล้ว ช่วยดูด้วยว่ามียาเบาหวานที่ส่งผลเสียหรือไม่ และปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมครับ
Endocrinology by Prof. Chatlert Pongchaiyakul
https://www.facebook.com/Endocrinologyreview/posts/1256170064400846
Public
30 Jul 2016
Dr.Jason Fung ผู้เชี่ยวชาญโรคไตวายกับการรักษาเบาหวานแบบธรรมชาติบำบัด ได้เปิดเผยเรื่องราว การรักษาเบาหวาน ที่ต้นเหตุ คือการ ที่ร่างกายต่อต้านการทำงานของอินซูลิน จึงพยายาม แก้ที่ต้นเหตุ ให้ร่างกาย ได้รับแป้ง/น้ำตาล ในปริมาณที่จำกัดเพื่อให้ไม่มีอินซูลินออกมา และ พบว่า ในเวลาประมาณ 6 สัปดาห์ ตาม รายการอาหาร ที่มีแป้งน้อย และอาจเสริม น้ำมันมะพร้าว โปรตีน นำ้ส้มสายชูแอปเปิลไซเดอร์เป็นต้น จำกัดแป้งและน้ำตาลรวมทั้งผลไม้ และอดอาหารบางมื้อหรือบางวัน สามารถทำให้ ลดการใช้ยาเบาหวานลงได้บางราย ไม่ต้องใช้ยาเบาหวานก็มี
นายแพทย์เจสัน มีอาสาสมัครที่เบื่อการรับประทานยาเบาหวาน หรือเบื่อการใช้ยาอินซูลินฉีด เข้าร่วมในการทดลอง ผลทำให้ นอกจาก ลดการใช้ยาเบาหวานได้แล้ว ยังทำให้สุขภาพโดยภาพรวมดีขึ้น สนใจ คลิ๊กฟังนายแพทย์ เจสัน ผู้เชี่ยวชาญในการรักษาไตวาย และ รักษาเบาหวาน ที่ต้นเหตุ แต่เป็นภาษาอังกฤษนะครับ
นายแพทย์เจสัน มีอาสาสมัครที่เบื่อการรับประทานยาเบาหวาน หรือเบื่อการใช้ยาอินซูลินฉีด เข้าร่วมในการทดลอง ผลทำให้ นอกจาก ลดการใช้ยาเบาหวานได้แล้ว ยังทำให้สุขภาพโดยภาพรวมดีขึ้น สนใจ คลิ๊กฟังนายแพทย์ เจสัน ผู้เชี่ยวชาญในการรักษาไตวาย และ รักษาเบาหวาน ที่ต้นเหตุ แต่เป็นภาษาอังกฤษนะครับ
Public
31 Oct 2013
สธ.เผยคนไทยป่วยเบาหวาน 3.5 ล้านคน ส่วนใหญ่คุมระดับน้ำตาลไม่ได้ อีก 1.2 ล้านคนไม่รู้ตัวว่าป่วย ค่ารักษาพุ่งสูงถึง 47,596 ล้านบาทต่อปี
ผู้ป่วยเบาหวานในประเทศไทยร้อยละ 95 เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ซึ่งเกิดมาจากการกิน ขาดการออกกำลังกาย และพบเบาหวานที่เกิดมาจากกรรมพันธุ์ หรือเรียกว่าโรคเบาหวานชนิดที่ 1 พบได้ร้อยละ 4 ขณะนี้ผู้ป่วยที่รับการรักษาที่โรงพยาบาลเป็นกลุ่มอายุ18 ปีหรือน้อยกว่า เกือบร้อยละ 3 ซึ่งส่วนใหญ่เป็นเบาหวานชนิดที่ 1 มีสาเหตุเกิดจากเซลล์ตับอ่อนหยุดผลิตฮอร์โมนอินซูลิน พบมากในคนอายุน้อยกว่า 25 ปี ทำให้ผู้ป่วยมีอาการเบาหวานเฉียบพลัน มีภาวะเลือดเป็นกรด ระดับน้ำตาลในเลือดสูง
เน้นปฏิบัติตัว 3 เรื่อง คือควบคุมอาหาร การออกกำลังกาย และการใช้ยาควบคุมอาการ
http://www.komchadluek.net/detail/20131030/171670.html
ผู้ป่วยเบาหวานในประเทศไทยร้อยละ 95 เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ซึ่งเกิดมาจากการกิน ขาดการออกกำลังกาย และพบเบาหวานที่เกิดมาจากกรรมพันธุ์ หรือเรียกว่าโรคเบาหวานชนิดที่ 1 พบได้ร้อยละ 4 ขณะนี้ผู้ป่วยที่รับการรักษาที่โรงพยาบาลเป็นกลุ่มอายุ18 ปีหรือน้อยกว่า เกือบร้อยละ 3 ซึ่งส่วนใหญ่เป็นเบาหวานชนิดที่ 1 มีสาเหตุเกิดจากเซลล์ตับอ่อนหยุดผลิตฮอร์โมนอินซูลิน พบมากในคนอายุน้อยกว่า 25 ปี ทำให้ผู้ป่วยมีอาการเบาหวานเฉียบพลัน มีภาวะเลือดเป็นกรด ระดับน้ำตาลในเลือดสูง
เน้นปฏิบัติตัว 3 เรื่อง คือควบคุมอาหาร การออกกำลังกาย และการใช้ยาควบคุมอาการ
http://www.komchadluek.net/detail/20131030/171670.html
Public
13 Nov 2015
เบาหวานเป็นโรคที่มีระดับน้ำตาลในเลือดสูงผิดปกติ ทำให้เส้นเลือดทั่วร่างกายเปลี่ยนแปลงผิดปกติไปจากเดิม จึงอาจกล่าวได้ว่าโรคเบาหวานสามารถส่งผลต่อทุกอวัยวะในร่างกาย ซึ่งอวัยวะที่มักได้รับผลแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน ได้แก่ สมอง หัวใจ ไต และดวงตา...
เบาหวานขึ้นจอประสาทตาแบ่งได้เป็น 2 ระยะ คือ
1.ระยะที่ยังไม่มีเส้นเลือดงอกผิดปกติ ในระยะนี้ส่วนใหญ่ไม่จำเป็นต้องทำการรักษา แต่ต้องตรวจติดตามอาการเป็นระยะทุก 4-8 เดือนแล้วแต่กรณี
2.ระยะที่มีเส้นเลือดงอกผิดปกติ เนื่องจากโรคเบาหวานทำให้ระบบการไหลเวียนเลือดในร่างกายแย่ลง เมื่อเลือดไม่สามารถนำออกซิเจนมาเลี้ยงเซลล์ในดวงตาได้เหมือนเดิม กลไกของร่างกายจึงพยายามงอกเส้นเลือดใหม่ขึ้นมา เมื่ออาการดำเนินมาถึงระยะนี้ แพทย์อาจพิจารณาให้การรักษาด้วยวิธีการยิงเลเซอร์บริเวณจอประสาทตา ที่ไม่มีผลต่อการรับภาพและยิงเลเซอร์ทำลายเส้นเลือดงอกใหม่ เพื่อป้องกันไม่ให้การมองเห็นแย่ลงหรือสูญเสียการมองเห็นในอนาคต ถ้าปล่อยทิ้งไว้นานๆ เส้นเลือดที่งอกผิดปกติอาจแตกออก กลายเป็นเลือดออกในลูกตา ผู้ป่วยจึงมองไม่เห็น บางรายมีอาการตื่นนอนขึ้นมาแล้วพบว่ามองอะไรไม่เห็นเลย
http://health.haijai.com/3899/
เบาหวานขึ้นจอประสาทตาแบ่งได้เป็น 2 ระยะ คือ
1.ระยะที่ยังไม่มีเส้นเลือดงอกผิดปกติ ในระยะนี้ส่วนใหญ่ไม่จำเป็นต้องทำการรักษา แต่ต้องตรวจติดตามอาการเป็นระยะทุก 4-8 เดือนแล้วแต่กรณี
2.ระยะที่มีเส้นเลือดงอกผิดปกติ เนื่องจากโรคเบาหวานทำให้ระบบการไหลเวียนเลือดในร่างกายแย่ลง เมื่อเลือดไม่สามารถนำออกซิเจนมาเลี้ยงเซลล์ในดวงตาได้เหมือนเดิม กลไกของร่างกายจึงพยายามงอกเส้นเลือดใหม่ขึ้นมา เมื่ออาการดำเนินมาถึงระยะนี้ แพทย์อาจพิจารณาให้การรักษาด้วยวิธีการยิงเลเซอร์บริเวณจอประสาทตา ที่ไม่มีผลต่อการรับภาพและยิงเลเซอร์ทำลายเส้นเลือดงอกใหม่ เพื่อป้องกันไม่ให้การมองเห็นแย่ลงหรือสูญเสียการมองเห็นในอนาคต ถ้าปล่อยทิ้งไว้นานๆ เส้นเลือดที่งอกผิดปกติอาจแตกออก กลายเป็นเลือดออกในลูกตา ผู้ป่วยจึงมองไม่เห็น บางรายมีอาการตื่นนอนขึ้นมาแล้วพบว่ามองอะไรไม่เห็นเลย
http://health.haijai.com/3899/
Public
15 Nov 2016
ทุกวันที่ 14 พฤศจิกายนของทุกปี สมาพันธ์เบาหวานนานาชาติ (International Diabetes Federation : IDF) กำหนดให้เป็นวันเบาหวานโลก (World Diabetes Day) และในปี 2559 นี้มีคำขวัญในการรณรงค์ คือ “Eyes on Diabetes” โดยเน้นให้เห็นถึงความสำคัญของการคัดกรองเบาหวานและการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนของเบาหวานโดยเฉพาะภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นกับจอตา เพื่อการรักษาที่รวดเร็วและลดโรคแทรกจากโรคเบาหวาน
http://www.matichon.co.th/news/359641
http://www.matichon.co.th/news/359641
Public
7 Aug 2015
ผู้ป่วยโรคเบาหวานมักพบภาวะแทรกซ้อนตามระบบและอวัยวะต่างๆ โดยเฉพาะผู้ป่วยเบาหวานเรื้อรัง จะมีอัตราเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจ และมีความรุนแรงของโรคมากกว่าคนปกติ
สำหรับสัญญาณอันตราย ของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจจากเบาหวาน ที่ต้องรีบพบแพทย์อาจสังเกตได้จาก อาการแน่น หรืออึดอัด บริเวณกลางหน้าอกข้างซ้าย หรือลิ้นปี่ คล้ายอาการจุกเสียดปวดร้าวที่ท้องแขนด้านใน หน้ามืด วิงเวียน เหงื่อออก ตัวเย็น ใจสั่นจะเป็นลมหรือหมดสติ ส่วนอาการเจ็บหน้าอกนั้น มักไม่ชัดเจนเพราะผู้ป่วยมักมีปัญหาปลายประสาทรับความรู้สึกเสื่อมสภาพ
ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ควรควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด ให้อยู่ในระดับปกติ (70-110) หรือใกล้เคียงมากที่สุด กินอาหารให้พอดี เว้นระยะห่างของอาหารแต่ละมื้อให้นาน งดเว้นอาหารประเภทหวานๆ หลีกเลี่ยงผลไม้รสหวาน อาหารประเภทแป้ง และไขมัน รวมทั้งไขมันจากกะทิ ควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 ครั้ง เป็นเวลา 15-30 นาทีต่อวัน ควรพกลูกอมหรือน้ำตาล และบัตรที่แสดงว่าเป็นผู้ป่วยโรคเบาหวานติดตัวไว้เสมอ งดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1438920529
สำหรับสัญญาณอันตราย ของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจจากเบาหวาน ที่ต้องรีบพบแพทย์อาจสังเกตได้จาก อาการแน่น หรืออึดอัด บริเวณกลางหน้าอกข้างซ้าย หรือลิ้นปี่ คล้ายอาการจุกเสียดปวดร้าวที่ท้องแขนด้านใน หน้ามืด วิงเวียน เหงื่อออก ตัวเย็น ใจสั่นจะเป็นลมหรือหมดสติ ส่วนอาการเจ็บหน้าอกนั้น มักไม่ชัดเจนเพราะผู้ป่วยมักมีปัญหาปลายประสาทรับความรู้สึกเสื่อมสภาพ
ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ควรควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด ให้อยู่ในระดับปกติ (70-110) หรือใกล้เคียงมากที่สุด กินอาหารให้พอดี เว้นระยะห่างของอาหารแต่ละมื้อให้นาน งดเว้นอาหารประเภทหวานๆ หลีกเลี่ยงผลไม้รสหวาน อาหารประเภทแป้ง และไขมัน รวมทั้งไขมันจากกะทิ ควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 ครั้ง เป็นเวลา 15-30 นาทีต่อวัน ควรพกลูกอมหรือน้ำตาล และบัตรที่แสดงว่าเป็นผู้ป่วยโรคเบาหวานติดตัวไว้เสมอ งดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1438920529
Public
22 Sep 2016
#รู้ตัวหรือเปล่าว่าเป็นเบาหวาน?
" อย่าคิดว่า เป็นพันธุกรรม หรือ กรรมเก่า เลยยอมแพ้แก่โชคชะตา
เอาชนะ พันธุกรรม โดยปฏิวัติ การกระทำใหม่
โรคเบาหวาน แม้จะเป็นโรคที่เกิดจากพันธุกรรม แต่ก็มีคนไข้ส่วนหนึ่งที่เป็นเบาหวาน ก็เกิดจาก การกระทำของตัวเอง เช่นกัน
เราจะรู้ตัวได้งัยว่า เป็น เบาหวาน ลองอ่านเหนังสือ
คู่มือ " รู้ตัวหรือเปล่าว่าเป็น เบาหวาน จาก Sook
ด้วยความปรารถนาดีจาก ทีมงานแพทย์เฉพาะทางบาทเดียว
คลิกดาวน์โหลด เพิ่มเติมได้ที่
http://resource.thaihealth.or.th/library/hot/14713
" อย่าคิดว่า เป็นพันธุกรรม หรือ กรรมเก่า เลยยอมแพ้แก่โชคชะตา
เอาชนะ พันธุกรรม โดยปฏิวัติ การกระทำใหม่
โรคเบาหวาน แม้จะเป็นโรคที่เกิดจากพันธุกรรม แต่ก็มีคนไข้ส่วนหนึ่งที่เป็นเบาหวาน ก็เกิดจาก การกระทำของตัวเอง เช่นกัน
เราจะรู้ตัวได้งัยว่า เป็น เบาหวาน ลองอ่านเหนังสือ
คู่มือ " รู้ตัวหรือเปล่าว่าเป็น เบาหวาน จาก Sook
ด้วยความปรารถนาดีจาก ทีมงานแพทย์เฉพาะทางบาทเดียว
คลิกดาวน์โหลด เพิ่มเติมได้ที่
http://resource.thaihealth.or.th/library/hot/14713
ภาพนี้เป็นภาพที่เปรียบเทียบโรคเบาหวานได้ชัดเจนที่สุด นั่นคือภาพของภูเขาน้ำแข็ง เพราะการตรวจเจอว่าเป็นเบาหวาน คือ ยอดภูเขาน้ำแข็งที่โผล่ออกมา
เพราะฉะนั้นกว่าจะตรวจเจอว่าเป็นเบาหวาน ก็คือ การสั่งสมการกินที่ผิดๆมาเป็นระยะเวลานานค่อนชีวิต และเมื่อตรวจเจอว่าเป็นเบาหวาน จึงยากที่จะรักษา เพราะขัดแย้งกับสภาพความเคยชินที่กินแบบนั้นมาแต่ไหนแต่ไร เราจึงเห็นภาพคนเป็นเบาหวาน ถึงแม้ว่าจะถูกตัดขาไปแล้ว ก็ยังคงดูดบุหรี่ปุ๋ยๆ ยังคงชอบกินน้ำอัดลมใส่น้ำแข็ง ยังชอบกินข้าวขาว ไม่ชอบกินข้าวกล้อง ไม่ชอบกินผัก ไม่ชอบออกกำลังกาย แล้วในที่สุดก็ต้องจากไปก่อนเวลาอันควร
เพราะฉะนั้นกว่าจะตรวจเจอว่าเป็นเบาหวาน ก็คือ การสั่งสมการกินที่ผิดๆมาเป็นระยะเวลานานค่อนชีวิต และเมื่อตรวจเจอว่าเป็นเบาหวาน จึงยากที่จะรักษา เพราะขัดแย้งกับสภาพความเคยชินที่กินแบบนั้นมาแต่ไหนแต่ไร เราจึงเห็นภาพคนเป็นเบาหวาน ถึงแม้ว่าจะถูกตัดขาไปแล้ว ก็ยังคงดูดบุหรี่ปุ๋ยๆ ยังคงชอบกินน้ำอัดลมใส่น้ำแข็ง ยังชอบกินข้าวขาว ไม่ชอบกินข้าวกล้อง ไม่ชอบกินผัก ไม่ชอบออกกำลังกาย แล้วในที่สุดก็ต้องจากไปก่อนเวลาอันควร
Public
16 Nov 2015
องค์การอนามัยโลกและสมพันธ์โรคเบาหวานนานาชาติจึงได้กำหนดให้วันที่ 14 พฤศจิกายนของทุกปี เป็นวันเบาหวานโลก (World Diabetes Day)
“งด ลด เพิ่ม เริ่ม”
“งด” งดกินน้ำตาลเกินจำเป็น เลี่ยงอาหารที่มีน้ำตาลสูง เช่น น้ำหวาน น้ำอัดลม ลูกอม ขนมหวาน ต่างๆ
“ลด” ลดข้าว แป้ง เปลี่ยนจากข้าวขัดขาวเป็นข้าวกล้องหรือธัญพืชไม่ขัดสี เพื่อให้ร่างกายได้รับใยอาหารอย่างเพียงพอ ช่วยลดการดูดซึมของน้ำตาล และช่วยจับไขมันในอาหาร
“เพิ่ม” เพิ่มการกินผัก ผลไม้ โดยกินผักหลากหลายชนิด หลายสีสลับกันทุกวัน เพราะมีใยอาหารสูงช่วยให้อิ่มนาน ชะลอการดูดซึมน้ำตาล และยังมีสารต้านอนุมูลอิสระ แต่ควรระมัดระวังการกินผลไม้รสหวานจัด
“เริ่ม” เริ่มต้นออกกำลังกาย ควรออกกำลังกายเป็นประจำ สัปดาห์ละ 5 ครั้ง ครั้งละ 30 - 45 นาที หรือเพิ่มกิจกรรมทางกายในชีวิตประจำวัน เช่น เดินมากขึ้น เร็วขึ้น หรือใช้บันไดแทนการขึ้นลิฟต์
http://www.hfocus.org/content/2015/11/11245
“งด ลด เพิ่ม เริ่ม”
“งด” งดกินน้ำตาลเกินจำเป็น เลี่ยงอาหารที่มีน้ำตาลสูง เช่น น้ำหวาน น้ำอัดลม ลูกอม ขนมหวาน ต่างๆ
“ลด” ลดข้าว แป้ง เปลี่ยนจากข้าวขัดขาวเป็นข้าวกล้องหรือธัญพืชไม่ขัดสี เพื่อให้ร่างกายได้รับใยอาหารอย่างเพียงพอ ช่วยลดการดูดซึมของน้ำตาล และช่วยจับไขมันในอาหาร
“เพิ่ม” เพิ่มการกินผัก ผลไม้ โดยกินผักหลากหลายชนิด หลายสีสลับกันทุกวัน เพราะมีใยอาหารสูงช่วยให้อิ่มนาน ชะลอการดูดซึมน้ำตาล และยังมีสารต้านอนุมูลอิสระ แต่ควรระมัดระวังการกินผลไม้รสหวานจัด
“เริ่ม” เริ่มต้นออกกำลังกาย ควรออกกำลังกายเป็นประจำ สัปดาห์ละ 5 ครั้ง ครั้งละ 30 - 45 นาที หรือเพิ่มกิจกรรมทางกายในชีวิตประจำวัน เช่น เดินมากขึ้น เร็วขึ้น หรือใช้บันไดแทนการขึ้นลิฟต์
http://www.hfocus.org/content/2015/11/11245
ด้วยความห่วงใย
.....................
BETTER PHARMACY เจ็ดยอด เชียงใหม่
เราคัดสรรสิ่งที่ดี มีคุณภาพ เพื่อคุณ
FACEBOOK / BetterPharmacyCMG
LINE ID - BETTERCM
.....................
UPDATE - 2017.11.16
No comments:
Post a Comment