พอดีมีลูกค้ามาซื้อยาบอกเอาไปให้หมากิน 2 วันติดกัน ด้วยความสงสัยก็เลยต้องหาข้อมูล เพราะที่เรียนมา เรียนแต่ยาคน ไม่เคยมีความรู้เกี่ยวกับยาสัตว์เลยแม้แต่นิดเดียว
1.สัตว์ก็เหมือนคน ที่ปัจจุบันอายุยืนมากขึ้น เพราะ วิทยาการทางการสัตวแพทย์ดีขึ้น โดยแมวจะมีอายุเฉลี่ย 12 ปี ส่วนหมาจะมีอายุเฉลี่ย 11 ปี
2. โรคที่หมาแมวเป็นกันมาก คือ โรคจากการอยู่ดีกินดีเช่นเดียวกับคน ที่เป็นผลมาจากความอ้วนจนทำให้เกิดโรคเบาหวาน หรือ โรคข้อ
3. ค่าใช้จ่ายในการรักษาหมาแมว สูงกว่าค่าใช้จ่ายในการรักษาคน
หมายเหตุ ประเทศที่เจริญแล้วเก็บข้อมูลต่างๆได้ เพราะ ทุกอย่างถูกจัดเข้าระบบ ส่วนบ้านเรา ต่างคนต่างทำ ไม่เป้นระบบ หน่วยงานไหนอยากทำอะไรทำ ไม่ร่วมมือกับหน่วยงานอื่น
Veterinary Medicine - Alaska Pharmacists Association
https://alaskapharmacy.org/wp-content/uploads/2018/02/Slides-Lamoureux.pdf
1.สัตว์ก็เหมือนคน ที่ปัจจุบันอายุยืนมากขึ้น เพราะ วิทยาการทางการสัตวแพทย์ดีขึ้น โดยแมวจะมีอายุเฉลี่ย 12 ปี ส่วนหมาจะมีอายุเฉลี่ย 11 ปี
2. โรคที่หมาแมวเป็นกันมาก คือ โรคจากการอยู่ดีกินดีเช่นเดียวกับคน ที่เป็นผลมาจากความอ้วนจนทำให้เกิดโรคเบาหวาน หรือ โรคข้อ
3. ค่าใช้จ่ายในการรักษาหมาแมว สูงกว่าค่าใช้จ่ายในการรักษาคน
หมายเหตุ ประเทศที่เจริญแล้วเก็บข้อมูลต่างๆได้ เพราะ ทุกอย่างถูกจัดเข้าระบบ ส่วนบ้านเรา ต่างคนต่างทำ ไม่เป้นระบบ หน่วยงานไหนอยากทำอะไรทำ ไม่ร่วมมือกับหน่วยงานอื่น
Veterinary Medicine - Alaska Pharmacists Association
https://alaskapharmacy.org/wp-content/uploads/2018/02/Slides-Lamoureux.pdf
‹
›
06/11/2018
5 Photos - View album
no shares
ถามว่ายาสัตว์มาจากไหน
ก็มาจาก
1. ยาสำหรับสัตว์โดยเฉพาะ
2. ยาคนที่เอาไปใช้กับสัตว์
3. จากการปรุงยาสำหรับสัตว์แต่ละตัว
แล้วที่เมืองนอกไปเอายาสัตว์จากที่ไหนกันบ้าง
ก็ได้มาจาก
1. สัตวแพทย์
2. ถือใบสั่งยาไปรับยากับเภสัชกรร้านยา
3. สั่งซื้อยาออนไลน์
(เมืองนอกจะมีระบบใบสั่งยาที่มีประสิทธิภาพ สืบค้นได้หมดว่ามาจากสัตวแพทย์คนไหน สำหรับสัตว์พันธุ์อะไร ต่างจากบ้านเราที่ไม่มีระบบ)
ถามว่าทำไมเภสัชกรที่จ่ายยาคนถึงต้องให้ความสนใจกับยาสัตว์
"Pharmacists are the only health care professionals expected by society to provide pharmaceutical care for all species."
Veterinary Medicine - Alaska Pharmacists Association
https://alaskapharmacy.org/wp-content/uploads/2018/02/Slides-Lamoureux.pdf
ก็มาจาก
1. ยาสำหรับสัตว์โดยเฉพาะ
2. ยาคนที่เอาไปใช้กับสัตว์
3. จากการปรุงยาสำหรับสัตว์แต่ละตัว
แล้วที่เมืองนอกไปเอายาสัตว์จากที่ไหนกันบ้าง
ก็ได้มาจาก
1. สัตวแพทย์
2. ถือใบสั่งยาไปรับยากับเภสัชกรร้านยา
3. สั่งซื้อยาออนไลน์
(เมืองนอกจะมีระบบใบสั่งยาที่มีประสิทธิภาพ สืบค้นได้หมดว่ามาจากสัตวแพทย์คนไหน สำหรับสัตว์พันธุ์อะไร ต่างจากบ้านเราที่ไม่มีระบบ)
ถามว่าทำไมเภสัชกรที่จ่ายยาคนถึงต้องให้ความสนใจกับยาสัตว์
"Pharmacists are the only health care professionals expected by society to provide pharmaceutical care for all species."
Veterinary Medicine - Alaska Pharmacists Association
https://alaskapharmacy.org/wp-content/uploads/2018/02/Slides-Lamoureux.pdf
‹
›
06/11/2018
4 Photos - View album
no plus ones
อะไรบ้างที่เป็นพิษกับหมา
ก็มี เหล้า อาหารประเภทไขมัน กระเทียม ชอกโกแลต องุ่น ลูกเกต มาคาดีเมีย ไซลิทอล
ยากลุ่มที่ห้ามให้กับหมาก็คือ ยากลุ่ม NSAID (อยากรู้ว่าตัวไหนคือ NSAID กรุณาถามเภสัชกร)
Veterinary Medicine - Alaska Pharmacists Association
https://alaskapharmacy.org/wp-content/uploads/2018/02/Slides-Lamoureux.pdf
ก็มี เหล้า อาหารประเภทไขมัน กระเทียม ชอกโกแลต องุ่น ลูกเกต มาคาดีเมีย ไซลิทอล
ยากลุ่มที่ห้ามให้กับหมาก็คือ ยากลุ่ม NSAID (อยากรู้ว่าตัวไหนคือ NSAID กรุณาถามเภสัชกร)
Veterinary Medicine - Alaska Pharmacists Association
https://alaskapharmacy.org/wp-content/uploads/2018/02/Slides-Lamoureux.pdf
‹
›
06/11/2018
5 Photos - View album
no shares
อะไรบ้างที่เป็นพิษกับแมว
ยาพารา ทัมใจ คลอแรม เหล้า กระเทียม หัวหอม
Veterinary Medicine - Alaska Pharmacists Association
https://alaskapharmacy.org/wp-content/uploads/2018/02/Slides-Lamoureux.pdf
ยาพารา ทัมใจ คลอแรม เหล้า กระเทียม หัวหอม
Veterinary Medicine - Alaska Pharmacists Association
https://alaskapharmacy.org/wp-content/uploads/2018/02/Slides-Lamoureux.pdf
‹
›
06/11/2018
3 Photos - View album
no plus ones
คนท้อง VS แพทย์ VS แมว VS สัตวแพทย์
แพทย์คะ(บางท่าน) คุณมีความรู้ แต่คุณไม่เมตตาสัตว์บ้างเหรอคะ??
ว่าที่คุณแม่ : แม่หมอคะ. หนู ไปฝากท้องมา หมอบอกให้เอาแมวไปทิ้ง เลิกเลี้ยงแมวไปเลย หนูทำใจไม่ได้ หนูควรทำยังไงดี หนูเลี้ยงมาตั้งแต่เค้าเด็กๆ จะให้ทิ้งได้ยังไง
แม่หมอ : 😰😰😰😰😰...ทำไมหมอคนแนะนำแบบนี้...มันมีวิธีรับมือ (แม่หมอหัวร้อน👹👹👹) ไม่ต้องรอให้คนทิ้งหมาแมวเพราะเรื่องขึ้นทะเบียนหรอก แม่หมอว่า หมอคน(บางคนก็มีส่วนทำให้คนทิ้งหมาแมวเยอะ เพราะคุณแนะนำแบบนี้ไงงงงง
✅รับมืออย่างไรเมื่อผู้หญิง (กำลัง) เข้าสู่วัยตั้งท้อง
ความจริงแล้ว หญิงที่ตั้งท้องไม่ได้ต้องห้ามเลี้ยงสัตว์ เพียงแต่ต้องรับมือให้เป็นเท่านั้น ซึ่งควรต้องเริ่มทำตั้งแต่ก่อนที่จะตั้งท้อง เพราะโรคท็อกโซพลาสโมซิสสามารถติดต่อได้กับทุกคน หากติดในช่วงระหว่างตั้งท้องหรือก่อนตั้งท้องไม่นาน ก็อาจมีการส่งผ่านเชื้อไปสู่ลูกในท้องได้ โดยหากใครมีแผนจะมีน้อง แนะนำให้ไปตรวจเลือดก่อน ว่ามีแอนติบอดีต่อเชื้อ Toxoplama spp. หรือไม่
✅โรคท็อกโซพลาสโมซิส คืออะไร
โรคท็อกโซพลาสโมซิส (Toxoplasmosis) เป็นโรคที่เกิดจากเชื้อโปรตัวซัวที่ชื่อ Toxoplama gondii ซึ่งติดต่อกันในสัตว์เลือดอุ่นทั่วไป (สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมและสัตว์ปีก รวมถึงคนและสุนัข) สามารถพบได้เกือบทั่วโลก น้องแมวและสัตว์ตระกูลแมวจัดเป็นโฮสต์สำคัญตามธรรมชาติ รับเชื้อผ่านการกินหนูและนกที่มีเชื้อ หรือรับเชื้อมาจากสิ่งแวดล้อม เมื่อเชื้อเข้าสู่ร่างกายแมวแล้ว จะเข้าไปแบ่งตัวและอาศัยอยู่ตามเนื้อเยื่อต่าง ๆ หลังจากนั้นก็จะพัฒนาเข้าสู่ระยะโอโอซีสต์ (Oocyst) แล้วขับออกมาพร้อมกับอุจจาระ หลังจากที่แมวได้รับเชื้อไปแล้ว 3-5 วัน และจะแพร่เชื้อต่อไปอย่างนั้นอีกประมาณ 3 สัปดาห์ โดยแมวที่ติดเชื้อส่วนใหญ่จะไม่แสดงอาการป่วย ยกเว้นแมวตัวนั้นจะอ่อนแอ เป็นแมวเด็ก หรือเป็นแมวมีภูมิคุ้มกันบกพร่อง
✅เชื้อนี้ติดต่อสู่คนอย่างไร
ความจริงแล้วโรคท็อกโซพลาสโมซิสติดต่อสู่คนได้หลายช่องทาง คนส่วนใหญ่ติดต่อผ่านทางการสัมผัสและรับเอาโอโอซีสต์เข้าสู่ร่างกายทางปาก เช่น ไปสัมผัสอุจจาระของแมวหรือเชื้อที่ปนเปื้อนอยู่ในดิน ในทราย หรือในน้ำแล้วไม่ได้ล้างมือ จากนั้นเอามือไปหยิบจับอาหารเข้าสู่ปาก หรือติดจากการกินเนื้อดิบ ๆ ที่มีระยะซีสต์อยู่ภายในเนื้อเยื่อ (tissue cyst) เช่น เนื้อนก เนื้อไก่ เนื้อหนู เนื้อหมู เนื้อวัว เนื้อแกะ ฯลฯ แต่ประเด็นที่คนส่วนใหญ่ให้ความสำคัญเกี่ยวกับโรคนี้ก็คือ กลุ่มผู้หญิงที่กำลังตั้งท้อง เพราะหากเชื้อนี้เข้าสู่ร่างกายของคุณแม่แล้ว จะส่งต่อไปยังลูกน้อยในท้องผ่านทางรกได้ อาจเป็นสาเหตุทำให้แท้งลูก หรืออาจทำให้ลูกที่คลอดออกมาเกิดความผิดปกติทางร่างกายได้ เช่น หูหนวก ตาบอด มีอาการทางระบบประสาท ปัญญาอ่อน ฯลฯ นอกจากนี้ยังมีรายงานพบว่า สามารถติดต่อผ่านทางการถ่ายเลือด และการปลูกถ่ายอวัยวะได้ด้วย
✅น้องหมาสามารถนำโรคนี้มาสู่คนได้หรือไม่
สถานภาพของน้องหมาก็คล้าย ๆ กับคนเรา คือ ส่วนใหญ่จะรับเชื้อต่อมาจากสัตว์อื่น ๆ ถามว่าคนสามารถติดโรคนี้จากน้องหมาได้หรือไม่ ตอบสั้น ๆ ว่า “ได้” แต่ขออธิบายต่อว่า...คนที่ติดต่อโรคนี้มาจากน้องหมา มักเกิดจากการไปเล่นกับน้องหมาแล้วสัมผัสเอาเชื้อที่มีอยู่บนตัวหรือบนขนที่ปนเปื้อนอุจจาระของแมว สุนัขจึงจัดว่าเป็นเพียงแค่ Mechanical vector ของโรคนี้เท่านั้น ไม่ค่อยพบการแพร่เชื้อผ่านทางอุจจาระเหมือนกับในแมว และไม่สามารถแพร่โรคสู่คนจากการกัดได้
สำหรับการดูแลและป้องกันโรคในสัตว์เลี้ยง ปัจจุบันยังไม่มีวัคซีนสำหรับป้องกัน ดังนั้นเจ้าของที่เลี้ยงสัตว์ ถ้าเป็นไปได้ควรเลี้ยงแบบ indoor หรืออยู่แต่เพียงในบ้าน (โดยเฉพาะแมว) และควรควบคุมประชากรหนูควบคู่กันไปด้วย ผู้หญิงที่ตั้งท้องควรหลีกเลี่ยงการสัมผัสอุจจาระแมวหรือกระบะทรายโดยตรง ให้สวมถุงมือป้องกัน หรือให้คุณพ่อบ้านเป็นคนจัดการกับอุจจาระของแมวแทน และทุกครั้งหลังการสัมผัสตัวสัตว์เลี้ยง (รวมถึงน้องหมาด้วย) จะต้องล้างมือให้สะอาด ก่อนที่จะใช้มือจับอาหารเข้าปาก
✅ หลีกเลี่ยงการกินเนื้อดิบ ๆ ที่ไม่ผ่านการปรุงสุก ผักและผลไม้ต่าง ๆ
✅ไม่ดื่มน้ำสกปรก
✅ไม่ดื่มนมที่ไม่ผ่านการพาสเจอร์ไรซ์
✅ไม่ให้สัตว์เลี้ยงกินหรือแอบไปกินอาหารดิบ ๆ เช่นกัน
อาหารทุกอย่างต้องล้างให้สะอาดก่อนนำมารับประทานเพราะอาจปนเปื้อนเชื้อมาจากสิ่งแวดล้อมที่ปลูกได้เช่นกัน
บ่อยครั้งที่สุนัขและสัตว์เลี้ยงต่าง ๆ ถูกนำมาใช้เป็นข้ออ้าง บางตัวต้องกลายเป็นแพะรับบาป เพราะผู้เลี้ยงขาดความเข้าใจที่ถูกต้อง ซึ่งความจริงแล้วโรคท็อกโซพลาสโมซิสนั้น ติดต่อสู่คนได้ยากมาก เว้นเสียแต่ว่า คน ๆ นั้นจะมีพฤติกรรมเสี่ยงตามที่กล่าวไป ผู้หญิงตั้งท้องจึงสามารถใช้ชีวิตอยู่ร่วมกับน้องหมาและสัตว์เลี้ยงอื่น ๆ ได้ แม่หมอ ขอเป็นกำลังใจให้กับคุณแม่และลูกน้อยทุกคน ขอให้มีสุขภาพที่แข็งแรงตลอดไปนะคะ
#วิภาวดีสัตวแพทย์
#คนท้องกับแมว
แพทย์คะ(บางท่าน) คุณมีความรู้ แต่คุณไม่เมตตาสัตว์บ้างเหรอคะ??
ว่าที่คุณแม่ : แม่หมอคะ. หนู ไปฝากท้องมา หมอบอกให้เอาแมวไปทิ้ง เลิกเลี้ยงแมวไปเลย หนูทำใจไม่ได้ หนูควรทำยังไงดี หนูเลี้ยงมาตั้งแต่เค้าเด็กๆ จะให้ทิ้งได้ยังไง
แม่หมอ : 😰😰😰😰😰...ทำไมหมอคนแนะนำแบบนี้...มันมีวิธีรับมือ (แม่หมอหัวร้อน👹👹👹) ไม่ต้องรอให้คนทิ้งหมาแมวเพราะเรื่องขึ้นทะเบียนหรอก แม่หมอว่า หมอคน(บางคนก็มีส่วนทำให้คนทิ้งหมาแมวเยอะ เพราะคุณแนะนำแบบนี้ไงงงงง
✅รับมืออย่างไรเมื่อผู้หญิง (กำลัง) เข้าสู่วัยตั้งท้อง
ความจริงแล้ว หญิงที่ตั้งท้องไม่ได้ต้องห้ามเลี้ยงสัตว์ เพียงแต่ต้องรับมือให้เป็นเท่านั้น ซึ่งควรต้องเริ่มทำตั้งแต่ก่อนที่จะตั้งท้อง เพราะโรคท็อกโซพลาสโมซิสสามารถติดต่อได้กับทุกคน หากติดในช่วงระหว่างตั้งท้องหรือก่อนตั้งท้องไม่นาน ก็อาจมีการส่งผ่านเชื้อไปสู่ลูกในท้องได้ โดยหากใครมีแผนจะมีน้อง แนะนำให้ไปตรวจเลือดก่อน ว่ามีแอนติบอดีต่อเชื้อ Toxoplama spp. หรือไม่
✅โรคท็อกโซพลาสโมซิส คืออะไร
โรคท็อกโซพลาสโมซิส (Toxoplasmosis) เป็นโรคที่เกิดจากเชื้อโปรตัวซัวที่ชื่อ Toxoplama gondii ซึ่งติดต่อกันในสัตว์เลือดอุ่นทั่วไป (สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมและสัตว์ปีก รวมถึงคนและสุนัข) สามารถพบได้เกือบทั่วโลก น้องแมวและสัตว์ตระกูลแมวจัดเป็นโฮสต์สำคัญตามธรรมชาติ รับเชื้อผ่านการกินหนูและนกที่มีเชื้อ หรือรับเชื้อมาจากสิ่งแวดล้อม เมื่อเชื้อเข้าสู่ร่างกายแมวแล้ว จะเข้าไปแบ่งตัวและอาศัยอยู่ตามเนื้อเยื่อต่าง ๆ หลังจากนั้นก็จะพัฒนาเข้าสู่ระยะโอโอซีสต์ (Oocyst) แล้วขับออกมาพร้อมกับอุจจาระ หลังจากที่แมวได้รับเชื้อไปแล้ว 3-5 วัน และจะแพร่เชื้อต่อไปอย่างนั้นอีกประมาณ 3 สัปดาห์ โดยแมวที่ติดเชื้อส่วนใหญ่จะไม่แสดงอาการป่วย ยกเว้นแมวตัวนั้นจะอ่อนแอ เป็นแมวเด็ก หรือเป็นแมวมีภูมิคุ้มกันบกพร่อง
✅เชื้อนี้ติดต่อสู่คนอย่างไร
ความจริงแล้วโรคท็อกโซพลาสโมซิสติดต่อสู่คนได้หลายช่องทาง คนส่วนใหญ่ติดต่อผ่านทางการสัมผัสและรับเอาโอโอซีสต์เข้าสู่ร่างกายทางปาก เช่น ไปสัมผัสอุจจาระของแมวหรือเชื้อที่ปนเปื้อนอยู่ในดิน ในทราย หรือในน้ำแล้วไม่ได้ล้างมือ จากนั้นเอามือไปหยิบจับอาหารเข้าสู่ปาก หรือติดจากการกินเนื้อดิบ ๆ ที่มีระยะซีสต์อยู่ภายในเนื้อเยื่อ (tissue cyst) เช่น เนื้อนก เนื้อไก่ เนื้อหนู เนื้อหมู เนื้อวัว เนื้อแกะ ฯลฯ แต่ประเด็นที่คนส่วนใหญ่ให้ความสำคัญเกี่ยวกับโรคนี้ก็คือ กลุ่มผู้หญิงที่กำลังตั้งท้อง เพราะหากเชื้อนี้เข้าสู่ร่างกายของคุณแม่แล้ว จะส่งต่อไปยังลูกน้อยในท้องผ่านทางรกได้ อาจเป็นสาเหตุทำให้แท้งลูก หรืออาจทำให้ลูกที่คลอดออกมาเกิดความผิดปกติทางร่างกายได้ เช่น หูหนวก ตาบอด มีอาการทางระบบประสาท ปัญญาอ่อน ฯลฯ นอกจากนี้ยังมีรายงานพบว่า สามารถติดต่อผ่านทางการถ่ายเลือด และการปลูกถ่ายอวัยวะได้ด้วย
✅น้องหมาสามารถนำโรคนี้มาสู่คนได้หรือไม่
สถานภาพของน้องหมาก็คล้าย ๆ กับคนเรา คือ ส่วนใหญ่จะรับเชื้อต่อมาจากสัตว์อื่น ๆ ถามว่าคนสามารถติดโรคนี้จากน้องหมาได้หรือไม่ ตอบสั้น ๆ ว่า “ได้” แต่ขออธิบายต่อว่า...คนที่ติดต่อโรคนี้มาจากน้องหมา มักเกิดจากการไปเล่นกับน้องหมาแล้วสัมผัสเอาเชื้อที่มีอยู่บนตัวหรือบนขนที่ปนเปื้อนอุจจาระของแมว สุนัขจึงจัดว่าเป็นเพียงแค่ Mechanical vector ของโรคนี้เท่านั้น ไม่ค่อยพบการแพร่เชื้อผ่านทางอุจจาระเหมือนกับในแมว และไม่สามารถแพร่โรคสู่คนจากการกัดได้
สำหรับการดูแลและป้องกันโรคในสัตว์เลี้ยง ปัจจุบันยังไม่มีวัคซีนสำหรับป้องกัน ดังนั้นเจ้าของที่เลี้ยงสัตว์ ถ้าเป็นไปได้ควรเลี้ยงแบบ indoor หรืออยู่แต่เพียงในบ้าน (โดยเฉพาะแมว) และควรควบคุมประชากรหนูควบคู่กันไปด้วย ผู้หญิงที่ตั้งท้องควรหลีกเลี่ยงการสัมผัสอุจจาระแมวหรือกระบะทรายโดยตรง ให้สวมถุงมือป้องกัน หรือให้คุณพ่อบ้านเป็นคนจัดการกับอุจจาระของแมวแทน และทุกครั้งหลังการสัมผัสตัวสัตว์เลี้ยง (รวมถึงน้องหมาด้วย) จะต้องล้างมือให้สะอาด ก่อนที่จะใช้มือจับอาหารเข้าปาก
✅ หลีกเลี่ยงการกินเนื้อดิบ ๆ ที่ไม่ผ่านการปรุงสุก ผักและผลไม้ต่าง ๆ
✅ไม่ดื่มน้ำสกปรก
✅ไม่ดื่มนมที่ไม่ผ่านการพาสเจอร์ไรซ์
✅ไม่ให้สัตว์เลี้ยงกินหรือแอบไปกินอาหารดิบ ๆ เช่นกัน
อาหารทุกอย่างต้องล้างให้สะอาดก่อนนำมารับประทานเพราะอาจปนเปื้อนเชื้อมาจากสิ่งแวดล้อมที่ปลูกได้เช่นกัน
บ่อยครั้งที่สุนัขและสัตว์เลี้ยงต่าง ๆ ถูกนำมาใช้เป็นข้ออ้าง บางตัวต้องกลายเป็นแพะรับบาป เพราะผู้เลี้ยงขาดความเข้าใจที่ถูกต้อง ซึ่งความจริงแล้วโรคท็อกโซพลาสโมซิสนั้น ติดต่อสู่คนได้ยากมาก เว้นเสียแต่ว่า คน ๆ นั้นจะมีพฤติกรรมเสี่ยงตามที่กล่าวไป ผู้หญิงตั้งท้องจึงสามารถใช้ชีวิตอยู่ร่วมกับน้องหมาและสัตว์เลี้ยงอื่น ๆ ได้ แม่หมอ ขอเป็นกำลังใจให้กับคุณแม่และลูกน้อยทุกคน ขอให้มีสุขภาพที่แข็งแรงตลอดไปนะคะ
#วิภาวดีสัตวแพทย์
#คนท้องกับแมว
no shares
หมาเลียหน้าเลียปากเสร็จแล้วก็ติดเชื้อในกระแสเลือด น้อยคนที่จะติดเชื้อจากหมาแมว แต่โอกาสที่จะเกิดแจ็คพอตก็อย่างเช่นนายคนนี้
diagnosed with a blood infection caused by capnocytophaga, bacteria that is common in the saliva of cats and dogs but almost never leads to illness
diagnosed with a blood infection caused by capnocytophaga, bacteria that is common in the saliva of cats and dogs but almost never leads to illness
no shares
Public
19 Nov 2016
ปริมาณการให้ยาพาราเซตามอลที่เหมาะสมในสุนัขก็คือ 10 มก./กก. กินทุก 12 ชั่วโมง (แต่ถ้าเป็นไปได้ควรให้เพียงครั้งเดียวจะดีกว่าค่ะ) ถ้าเป็นยาพาราเซตามอลแบบเม็ดโดยทั่วไปจะมีปริมาณยาใน 1 เม็ด คือ 500 มก. ดังนั้นยาพาราเซตามอล 1 เม็ด จึงสำหรับป้อนสุนัขหนักถึง 50 กก.
ส่วนปริมาณการใช้พาราเซตามอลที่รายงานว่าก่อให้เกิดความเป็นพิษในสุนัขที่ก่อนป้อนยาแล้วตับยังทำงานปกตินะคะคือ 45 มก./กก แต่ถ้าน้องหมาตัวนั้นมีปัญหาเกี่ยวกับตับอยู่แล้ว ปริมาณยาพาราเซตามอลที่น้อยกว่านี้ก็อาจก่อความเป็นพิษได้
อาการเป็นพิษจากยาพาราเซตามอลในสัตว์เลี้ยงนั้น เกิดขึ้นจากการที่ในตับของสัตว์ไม่มี glucuronide มากพอที่จะขจัดพิษของยาชนิดนี้ในหมดฤทธิ์ได้หมด จึงมีผลให้เกิดการทำลายตับขึ้น และพิษของมันยังก่อให้เกิดพิษต่อร่างกายส่วนอื่นๆอีก เช่น มีการทำลายเม็ดเลือดแดงจนทำให้เม็ดเลือดแดงเปลี่ยนสภาพไปไม่สามารถขนถ่ายออกซิเจนได้อย่างปกติ สีของเลือดจะเปลี่ยนไปเป็นสีน้ำตาลช็อกโกแลต มีผลทำให้เกิดอาการซึม อาเจียน ปัสสาวะมีสีน้ำตาลแดง หน้าบวม เหงือกบวมและจะเปลี่ยนเป็นสีม่วง น้ำลายไหนยืด ซึ่งจะเกิดอาการให้เห็นภายใน 1-2 ชม หลังจากป้อนยาให้กับสัตว์ อาการที่กล่าวมาทั้งหมดจะเห็นได้ชัดในแมว และที่สำคัญพิษของยาอาจจะทำให้แมวเสียชีวิตได้ภายใน 18-36 ชั่วโมงเลยทีเดียว
ส่วนในน้องหมานั้น อาการเป็นพิษยาอาจไม่รุนแรงเท่าในแมวแต่ถ้าหากได้รับยาในปริมาณที่มากเกินไปติดต่อกันก็อาจทำให้เกิดอันตรายได้เช่นกัน โดยน้องหมาที่ีอาการเป็นพิษจากยาจะมีอาการซึมมาก อาเจียน ปวดท้อง ปัสสาวะมีสีเข้มขึ้น และถ้าหากไม่รีบพาไปพบสัตว์แพทย์ก็อาจเสียชีวิตได้ใน 2-4 วัน
เมื่อเราพบว่าสัตว์เลี้ยงของเรามีอาการเป็นพิษจากยาพาราเซตามอล เราควรจะพาไปพบสัตวแพทย์โดยทันทีหรืออาจช่วยปฐมพยาบาลเบื้องต้นก่อน โดยถ้าสัตว์เลี้ยงได้รับยาเข้าไปไม่เกิน 2 ชั่วโมง ให้เราใช้วิธีทำให้สัตว์เลี้ยงอาเจียนด้วยการป้อนเกลือแกงประมาณ 1-2 ช้อนโต๊ะหรือ ป้อนผงถ่านหรือ actived charcoal เพื่อช่วยในการดูดซึม หรืออาจต้องให้น้ำเกลือหรือออกซิเจน ถ่ายเลือดตามความจำเป็น และตามที่สัตวแพทย์ผู้รักษาแนะนำ
การใช้ยาพาราเซตามอลในสุนัขนั้น สัตวแพทย์ได้ให้คำแนะนำว่า สามารถใช้ยาดังกล่าวกับสุนัขได้ในปริมาณที่กำหนด
.https://www.dogilike.com/content/caring/1009/
ส่วนปริมาณการใช้พาราเซตามอลที่รายงานว่าก่อให้เกิดความเป็นพิษในสุนัขที่ก่อนป้อนยาแล้วตับยังทำงานปกตินะคะคือ 45 มก./กก แต่ถ้าน้องหมาตัวนั้นมีปัญหาเกี่ยวกับตับอยู่แล้ว ปริมาณยาพาราเซตามอลที่น้อยกว่านี้ก็อาจก่อความเป็นพิษได้
อาการเป็นพิษจากยาพาราเซตามอลในสัตว์เลี้ยงนั้น เกิดขึ้นจากการที่ในตับของสัตว์ไม่มี glucuronide มากพอที่จะขจัดพิษของยาชนิดนี้ในหมดฤทธิ์ได้หมด จึงมีผลให้เกิดการทำลายตับขึ้น และพิษของมันยังก่อให้เกิดพิษต่อร่างกายส่วนอื่นๆอีก เช่น มีการทำลายเม็ดเลือดแดงจนทำให้เม็ดเลือดแดงเปลี่ยนสภาพไปไม่สามารถขนถ่ายออกซิเจนได้อย่างปกติ สีของเลือดจะเปลี่ยนไปเป็นสีน้ำตาลช็อกโกแลต มีผลทำให้เกิดอาการซึม อาเจียน ปัสสาวะมีสีน้ำตาลแดง หน้าบวม เหงือกบวมและจะเปลี่ยนเป็นสีม่วง น้ำลายไหนยืด ซึ่งจะเกิดอาการให้เห็นภายใน 1-2 ชม หลังจากป้อนยาให้กับสัตว์ อาการที่กล่าวมาทั้งหมดจะเห็นได้ชัดในแมว และที่สำคัญพิษของยาอาจจะทำให้แมวเสียชีวิตได้ภายใน 18-36 ชั่วโมงเลยทีเดียว
ส่วนในน้องหมานั้น อาการเป็นพิษยาอาจไม่รุนแรงเท่าในแมวแต่ถ้าหากได้รับยาในปริมาณที่มากเกินไปติดต่อกันก็อาจทำให้เกิดอันตรายได้เช่นกัน โดยน้องหมาที่ีอาการเป็นพิษจากยาจะมีอาการซึมมาก อาเจียน ปวดท้อง ปัสสาวะมีสีเข้มขึ้น และถ้าหากไม่รีบพาไปพบสัตว์แพทย์ก็อาจเสียชีวิตได้ใน 2-4 วัน
เมื่อเราพบว่าสัตว์เลี้ยงของเรามีอาการเป็นพิษจากยาพาราเซตามอล เราควรจะพาไปพบสัตวแพทย์โดยทันทีหรืออาจช่วยปฐมพยาบาลเบื้องต้นก่อน โดยถ้าสัตว์เลี้ยงได้รับยาเข้าไปไม่เกิน 2 ชั่วโมง ให้เราใช้วิธีทำให้สัตว์เลี้ยงอาเจียนด้วยการป้อนเกลือแกงประมาณ 1-2 ช้อนโต๊ะหรือ ป้อนผงถ่านหรือ actived charcoal เพื่อช่วยในการดูดซึม หรืออาจต้องให้น้ำเกลือหรือออกซิเจน ถ่ายเลือดตามความจำเป็น และตามที่สัตวแพทย์ผู้รักษาแนะนำ
การใช้ยาพาราเซตามอลในสุนัขนั้น สัตวแพทย์ได้ให้คำแนะนำว่า สามารถใช้ยาดังกล่าวกับสุนัขได้ในปริมาณที่กำหนด
.https://www.dogilike.com/content/caring/1009/
no shares
ไม่ควรปล่อยสุนัขอยู่กับเด็กเพียงลำพังเด็ดขาด เนื่องจากพฤติกรรมและนิสัยของสุนัขมีแนวโน้มที่ทำร้ายฝ่ายตรงข้ามที่มีรูปร่างเล็กกว่าหรือใกล้เคียงกัน , คนที่มันคิดว่าสามารถเอาชนะได้อย่างคนที่นอนอยู่บนพื้น มันจะกลัวก็แต่คนที่มันมองว่าเป็นจ่าฝูงหรือคนที่คิดว่าสู้ไม่ได้เท่านั้น
จักรยานและเสียงร้องของเด็กก็เป็นสิ่งที่สร้างความไม่พอใจ หงุดหงิดและสร้างความตื่นตัวให้กับสุนัขจนอาจนำไปสู่เหตุการณ์ไม่คาดฝันได้เช่นกัน
จักรยานและเสียงร้องของเด็กก็เป็นสิ่งที่สร้างความไม่พอใจ หงุดหงิดและสร้างความตื่นตัวให้กับสุนัขจนอาจนำไปสู่เหตุการณ์ไม่คาดฝันได้เช่นกัน
Add a comment...
Public
19 Nov 2016
สัญญาณที่แสดงอาการเป็นพิษของยาพาราเซตามอลต่อสุนัขคือ ซึม อาเจียน น้ำปัสสสาวะสีน้ำตาลแดงคล้ำ และตายภายในเวลา 2-5 วัน แมวที่ได้รับพิษยาพาราแสดงอาการหน้าบวม อุ้งเท้าบวม เบื่ออาหาร น้ำลายฟูมปาก อาเจียน ซึม เหงือกเปลี่ยนสีเป็นสีน้ำตาลหรือม่วงแดง น้ำปัสสาวะเป็นสีช็อคโกแลต อาการเหล่านี้จะแสดงหลังได้รับยาเพียง 1-2 ชม. และตายภายในเวลา 18-36 ชม.
การเกิดพิษของพาราเซตามอลในหมาและแมว
เซลล์ตับถูกทำลาย สัตว์จะเจ็บบริเวณช่องท้อง
การรักษา
• ถ้าแมวเพิ่งได้รับยามาภายใน 4-5 ชม. จะทำให้อาเจียนแล้วป้อนผงถ่านทันทีหรือล้างท้อง แต่ถ้าแมวได้รับยาเป็นเวลานานอาจจะไม่ได้ผล
• ให้ยาแก้พิษ NAC ทุก 4-6 ชม. อาจจำเป็นต้องให้การรักษาต่อเนื่องเป็นเวลา 2-3วัน
• ให้ vitamin C และ cimetidine ทุก 6 ชม.
• ให้สารน้ำแก่สัตว์ทางเส้นเลือด
• ให้ oxygen
• สามารถให้น้ำและอาหารหลังจากการรักษาไปแล้ว 24 ชม.
http://clinicraksad.blogspot.com/2012/10/blog-post.html
http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=cornerdog&month=08-2006&date=20&group=3&gblog=3
http://pantip.com/topic/30698099
การเกิดพิษของพาราเซตามอลในหมาและแมว
เซลล์ตับถูกทำลาย สัตว์จะเจ็บบริเวณช่องท้อง
การรักษา
• ถ้าแมวเพิ่งได้รับยามาภายใน 4-5 ชม. จะทำให้อาเจียนแล้วป้อนผงถ่านทันทีหรือล้างท้อง แต่ถ้าแมวได้รับยาเป็นเวลานานอาจจะไม่ได้ผล
• ให้ยาแก้พิษ NAC ทุก 4-6 ชม. อาจจำเป็นต้องให้การรักษาต่อเนื่องเป็นเวลา 2-3วัน
• ให้ vitamin C และ cimetidine ทุก 6 ชม.
• ให้สารน้ำแก่สัตว์ทางเส้นเลือด
• ให้ oxygen
• สามารถให้น้ำและอาหารหลังจากการรักษาไปแล้ว 24 ชม.
http://clinicraksad.blogspot.com/2012/10/blog-post.html
http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=cornerdog&month=08-2006&date=20&group=3&gblog=3
http://pantip.com/topic/30698099
no shares
Public
13 Jul 2016
อาการทรุด ปวดหัว ไข้สูง หนาวสั่น และท้องร่วง และตรวจพบอาการไตวายรวมอยู่ด้วย เมื่อตรวจเลือด พบว่าผู้ป่วยติดเชื้อแบคทีเรียชนิดหนึ่งชื่อแคปโนไซโตฟากา คานิมอร์ซัส (Capnocytophaga canimorsus) ซึ่งพบมากในปากของสุนัขและแมว
http://www.matichon.co.th/news/209236
http://www.matichon.co.th/news/209236
no shares
ดับอีกเซ่นโรคพิษสุนัขบ้า หนุ่มรับเหมา จ.กาฬสินธุ์ กลายเป็นเหยื่อรายแรกในรอบ 20 ปี หลังนั่งดื่มสุรากับเพื่อน แต่เผลอเดินไปเหยียบหางสุนัขจนถูกแว้งกัด ใช้เหล้าขาว 40 ดีกรีล้างแผล ไม่ยอมไปฉีด...
Public
20 Feb 2014
ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าในสุนัขตั้งแต่อายุ 3 เดือนขึ้น
/////////////////////////////////////////////
โรคพิษสุนัขบ้าหรือโรคกลัวน้ำ เกิดจากเชื้อไวรัส ก่อโรคในสัตว์เลือดอุ่นเลี้ยงลูกด้วยนมทุกชนิด เช่น สุนัข แมว วัว ควาย ลิง ชะนี เป็นต้น ในไทยพบว่าสุนัขป่วยเป็นโรคนี้มากที่สุดร้อยละ 96 รองลงมาคือแมว เชื้อติดต่อสู่คนจากการถูกสัตว์ที่เป็นโรคกัด ข่วน เลีย น้ำลายกระเด็นเข้าทางตา ปาก หรือบาดแผลตามผิวหนัง โดยเชื้อไวรัสจะเพิ่มจำนวนที่บริเวณแผลถูกกัด หลังจากนั้นประมาณ 3 สัปดาห์-4 เดือน จะมีอาการป่วย บางรายอาจเร็วเพียง 4 วัน การป่วยจะช้าหรือเร็วขึ้นอยู่กับจำนวนเชื้อที่เข้าไป ตำแหน่งบาดแผล หากอยู่ใกล้สมอง เชื้อจะเข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง หรือเข้าสู่สมองได้เร็ว ผู้ป่วยจะมีอาการคลุ้มคลั่ง ดุร้าย กระวนกระวาย หากเชื้อเข้าสู่ไขสันหลังจะทำให้สมองและไขสันหลังทำงานผิดปกติ มีอาการอัมพาตและเสียชีวิตในที่สุด
https://www.facebook.com/photo.php?fbid=827656807249565&set=a.695600350455212.1073741826.312324502116134
/////////////////////////////////////////////
โรคพิษสุนัขบ้าหรือโรคกลัวน้ำ เกิดจากเชื้อไวรัส ก่อโรคในสัตว์เลือดอุ่นเลี้ยงลูกด้วยนมทุกชนิด เช่น สุนัข แมว วัว ควาย ลิง ชะนี เป็นต้น ในไทยพบว่าสุนัขป่วยเป็นโรคนี้มากที่สุดร้อยละ 96 รองลงมาคือแมว เชื้อติดต่อสู่คนจากการถูกสัตว์ที่เป็นโรคกัด ข่วน เลีย น้ำลายกระเด็นเข้าทางตา ปาก หรือบาดแผลตามผิวหนัง โดยเชื้อไวรัสจะเพิ่มจำนวนที่บริเวณแผลถูกกัด หลังจากนั้นประมาณ 3 สัปดาห์-4 เดือน จะมีอาการป่วย บางรายอาจเร็วเพียง 4 วัน การป่วยจะช้าหรือเร็วขึ้นอยู่กับจำนวนเชื้อที่เข้าไป ตำแหน่งบาดแผล หากอยู่ใกล้สมอง เชื้อจะเข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง หรือเข้าสู่สมองได้เร็ว ผู้ป่วยจะมีอาการคลุ้มคลั่ง ดุร้าย กระวนกระวาย หากเชื้อเข้าสู่ไขสันหลังจะทำให้สมองและไขสันหลังทำงานผิดปกติ มีอาการอัมพาตและเสียชีวิตในที่สุด
https://www.facebook.com/photo.php?fbid=827656807249565&set=a.695600350455212.1073741826.312324502116134
กรมควบคุมโรค เตือนประชาชนอย่าชะล่าใจ เมื่อถูกสุนัข 🐶 แมว 🐱 กัด ข่วน ให้รับการรักษา #แม้มีแผลเพียงเล็กน้อย !
และขอให้ประชาชนยึดหยัก "คาถา 5 ย."
1. อย่าเหยียบ
2. อย่าแยก
3. อย่าแหย่
4. อย่าหยิบ
5. อย่ายุ่ง
สอบถามข้อมูลได้ที่ #สายด่วนกรมควบคุมโรค1422 📞
และขอให้ประชาชนยึดหยัก "คาถา 5 ย."
1. อย่าเหยียบ
2. อย่าแยก
3. อย่าแหย่
4. อย่าหยิบ
5. อย่ายุ่ง
สอบถามข้อมูลได้ที่ #สายด่วนกรมควบคุมโรค1422 📞
no shares
Public
20 Feb 2014
โรคไข้หัดแมวนี้เป็นโรคเฉพาะสัตว์ในตระกูลแมวเท่านั้น ไม่เคยปรากฎมีรายงานว่าพบการติดต่อมาสู่คนแต่อย่างใด
การป้องกัน
นำแมวไปฉีดวัคซีนป้องกัน เมื่อแมวมีอายุได้ 2 เดือน ฉีดวัคซีนซ้ำอีกครั้งเมื่ออายุ 6 เดือน และฉีดซ้ำทุกปี
////////////////////////////////////////
จากข่าวเมื่อวันก่อนเกี่ยวกับโรคระบาดของแมวนั้น ได้มีเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องได้เข้าไปตรวจสอบในพื้นที่นั้นแล้ว ได้ผลสรุปออกมาว่าเป็นไข้หัดแมวค่ะ ซึ่งหายห่วงได้ว่ายังไม่มีการติดต่อมาสู่คนแต่อย่างใด แต่ต้องพาแมวไปรับวัคซีนป้องกันตามเวลาที่แพทย์ระบุไว้ค่ะ
เราได้รายงานการเกิดโรคนี้มานานแล้ว ซึ่งสามารถพบในแมวทุกตระกูลไม่ว่าจะเป็น เสือ สิงโต แมวป่า หรือแม้แต่แมวบ้านทุกพันธุ์ นอกจากนี้ยังพบได้ในสัตว์ตระกูลอื่นๆ อีก เช่น สกั๊งค์ เฟอเร็ต มิ้งค์ แรคคูน ซึ่งโรคนี้ทําให้สัตว์มีอาการคล้ายเป็นหวัดและท้องเสีย ซึ่งมีอาการเหมือนโรคไข้หัดสุนัข จึงมีคนเรียกชื่อต่างๆ เช่น โรคไข้หัดแมว หรือโรคลําไส้อักเสบในแมว
สาเหตุ
โรคไข้หัดแมวนี้เป็นโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัสกลุ่มพาร์โวไวรัส (feline parvovirus) มีผลต่อระบบทางเดินอาหารของแมว โรคไข้หัดแมวมีระยะการฟักตัวของโรค 2-7 วัน
แมวสามารถติดโรคไข้หัดแมวได้จากการติดต่อโดยตรงจากแมวป่วย โดยเฉพาะทางอุจจาระภาชนะใส่อาหาร น้ำ กรงหรือที่ขับถ่ายของแมว พื้นดินที่ปนเปื้อนด้วยเชื้อไวรัส นอกจากนี้อาจเป็นเสื้อผ้าหรือรองเท้า ไวรัสไข้หัดแมวมีอยู่ตามธรรมชาติ ติดต่อจากแมวตัวหนึ่งไปยังตัวอื่นได้ ผ่านทางน้ำมูก น้ำลาย อาหาร หรือสัมผัสแมวตัวที่เป็นโรค ถ้าแมวบ้านออกไปสังคมกับแมวนอกบ้าน ก็มีโอกาสเสี่ยงที่จะได้รับเชื้อไข้หัดแมวได้มาก
การแพร่โรคเกิดได้ง่ายขึ้นระหว่างแมวที่เลี้ยงปนกันหลายๆตัว แมลงวันก็เป็นอีกพาหะสำคัญในประเทศแถบร้อน โดยพาเชื้อไวรัสไข้หัดแมวบินไปเกาะแมวตัวที่เป็นโรค สามารถแพร่กระจายให้เกิดการติดเชื้อได้
ถึงโรคหัดแมวจะติดต่อกันได้ง่าย แต่ไม่ต้องกังวลว่าเชื้อจะแพร่กระจายผ่านอากาศ หรือพัดพาไปตามลม ไวรัสหัดแมวแพร่เชื้อด้วยการสัมผัส แค่ไอ จาม เชื้อลอยในอากาศ ติดต่อไม่ได้ ไวรัสไข้หัดแมวไม่สามารถทนความร้อนได้ อุณหภูมิ 50-60 องศาเซลเซียส ก็อยู่ไม่ได้ การดำรงชีวิตต้องอยู่ในที่ชื้น อยู่ในตัวกลางที่เป็นน้ำ น้ำมูก น้ำลายสัตว์ แต่ทนอยู่ในที่ร้อนและไม่ชื้นแฉะไม่ได้
อาการสัตว์ป่วย
แมวมีอาการซึม ไม่กินอาหาร ไข้สูง เพียงแค่หนึ่งวัน อาจจะเป็นอัมพาตขาทั้ง 4 ข้างเดินไม่ได้
โรคไข้หัดแมวนี้จะรุนแรงมากในแมวอายุน้อย โดยมีอาการที่สําคัญที่พบ คือ มีไข้สูง อาเจียนท้องเสีย มีผลต่อการทรงตัวของลูกแมว และทําให้ลูกแมวตาบอดได้
เมื่อคลําบริเวณช่องท้องจะเจ็บท้อง บางทีพบเป็นลําของลําไส้หนาตัว ภายในมีแก๊สและของเหลว
ตรวจเลือดพบเม็ดเลือดขาวต่ำมาก จึงมีชื่อเรียกโรคนี้ว่า feline panleukopenia
ในลูกแมวโต เมื่อเกิดการติดเชื้อระยะหนึ่งแล้ว ร่างกายสามารถสร้างภูมิคุ้มกันได้ ก็จะอาการดีขึ้น แต่แมวที่หายจากโรคใหม่ๆสามารถพบเชื้อไวรัสออกมากับอุจจาระได้หลายสัปดาห์ แมวเด็กส่วนใหญ่เป็นแล้วตาย ต่างกับแมวผู้ใหญ่เป็นแล้วโอกาสรอดมีมากกว่า แมวอายุมาก ผ่านร้อนผ่านหนาวมามากแล้ว พอจะมีภูมิต้านทานโรคอยู่บ้าง แต่แมวที่ไม่แสดงอาการโรคหัด ก็ไม่ได้หมายความว่าแมวตัวนั้นจะไม่มีเชื้อ แมวอาจได้รับเชื้อหัดอ่อนๆอยู่ในตัว ถึงจะไม่มีอาการ แต่ก็เป็นตัวกลางนำเชื้อแพร่ไปสู่แมวตัวอื่นได้เช่นกัน การสร้างภูมิคุ้มกันตามธรรมชาติเป็นเรื่องปกติอยู่แล้ว แต่แมวที่เจ้าของเลี้ยง ต้องดูแลใกล้ชิด
ในแมวตั้งท้อง อาจแท้งลูกหรือลูกตายหลังคลอดได้
อาการอาเจียน ปวดท้องอย่างรุนแรง และแห้งน้ำอย่างรวดเร็ว มักทำให้เจ้าของคิดว่าสัตว์โดนสารพิษ
ในกลุ่มแมวอายุน้อย ส่วนใหญ่จะตายอย่างรวดเร็ว อัตราการตายอยู่ระหว่างร้อยละ 25-90 แมวที่ป่วยเป็นหัด ถ้าเป็นแมวเด็กอายุ 6-8 อาทิตย์ จะเสียชีวิตภายใน 1 สัปดาห์ ยิ่งเป็นลูกแมวก็จะไม่มีภูมิต้านทาน ยิ่งน่าเป็นห่วง เมื่อติดเชื้อแล้วอาการเป็นหนักและเสียชีวิตได้ง่ายมาก
การติดต่อ
โรคไข้หัดแมวนี้เป็นโรคเฉพาะสัตว์ในตระกูลแมวเท่านั้น ไม่เคยปรากฎมีรายงานว่าพบการติดต่อมาสู่คนแต่อย่างใด
การรักษา
พาไปพบสัตวแพทย์ทันที เพราะเป็นโรคติดต่อร้ายแรง
โดยเฉพาะแมวที่ไม่กินอาหาร หรืออาเจียนท้องเสีย จะทําให้ร่างกายอ่อนเพลียทรุดโทรมมาก สัตว์อาจอยู่ในสภาพช็อคได้
รักษาตามอาการและพยุงชีวิตให้สัตว์สามารถสร้างภูมิต้านทานต่อโรคได้โดยการให้สารน้ำทดแทน ขั้นตอนการรักษาหลักๆ คือ ทำให้แมวกินอาหารให้ได้ ต้องพยายามป้อนอาหาร พร้อมกับให้ยาปฏิชีวนะป้องกันโรคแทรกซ้อน การรักษาทำได้เพียงเท่านี้ จะรอดหรือไม่ขึ้นอยู่กับความแข็งแรงของแมวแต่ละตัว
พิจารณาให้ยาปฏิชีวนะเพื่อป้องกันโรคแทรกซ้อน
ฉีดยาระงับการอาเจียนและลดการทํางานของลําไส้โดยการงดอาหารและน้ำ
วิตามินบีรวมโดยการฉีดเข้าทางเส้นเลือด
การป้องกัน
นำแมวไปฉีดวัคซีนป้องกัน เมื่อแมวมีอายุได้ 2 เดือน ฉีดวัคซีนซ้ำอีกครั้งเมื่ออายุ 6 เดือน และฉีดซ้ำทุกปี
ปัจจุบันมีวัคซีนป้องกันโรคไข้หัดแมวจําหน่ายหลายยี่ห้อ และยังมีชนิดที่เป็นวัคซีนรวมอีกด้วย โดยสามารถใช้ป้องกันได้ทั้งโรคไข้หัดแมวและโรคไข้หวัดแมวไปพร้อมๆกัน วัคซีนโรคอื่นๆที่สำคัญในแมว มี 4 ชนิด โรคไข้หัดแมว โรคพิษสุนัขบ้า โรคลูคีเมีย หรือมะเร็งแมว และโรคเยื่อบุช่องท้องอักเสบ โรคเยื่อบุช่องท้องอักเสบ
ควรระวังแมวที่ยังไม่เป็นโรค โดยรีบแยกแมวป่วยออกจากแมวปกติตัวอื่นทันที เพราะโรคนี้เป็นได้กับแมวทุกอายุ
ทําความสะอาดและฆ่าเชื้อโรคที่อาจแพร่ออกมากับอุจจาระปัสสาวะด้วยน้ำยาโซเดียมไฮโปคลอไรด์
เจ้าของแมวที่มีแมวตายด้วยโรคไข้หัดแมวไม่ควรนําลูกแมวที่ยังไม่เคยได้รับการฉีดวัคซีนเข้ามาเลี้ยงอีก
ขอบคุณข้อมูลจาก นพ.วรวุฒิ เจริญศิริ ศูนย์ข้อมูลสุขภาพกรุงเทพ
#RamaChannel
https://www.facebook.com/photo.php?fbid=824740764207836&set=a.695600350455212.1073741826.312324502116134
การป้องกัน
นำแมวไปฉีดวัคซีนป้องกัน เมื่อแมวมีอายุได้ 2 เดือน ฉีดวัคซีนซ้ำอีกครั้งเมื่ออายุ 6 เดือน และฉีดซ้ำทุกปี
////////////////////////////////////////
จากข่าวเมื่อวันก่อนเกี่ยวกับโรคระบาดของแมวนั้น ได้มีเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องได้เข้าไปตรวจสอบในพื้นที่นั้นแล้ว ได้ผลสรุปออกมาว่าเป็นไข้หัดแมวค่ะ ซึ่งหายห่วงได้ว่ายังไม่มีการติดต่อมาสู่คนแต่อย่างใด แต่ต้องพาแมวไปรับวัคซีนป้องกันตามเวลาที่แพทย์ระบุไว้ค่ะ
เราได้รายงานการเกิดโรคนี้มานานแล้ว ซึ่งสามารถพบในแมวทุกตระกูลไม่ว่าจะเป็น เสือ สิงโต แมวป่า หรือแม้แต่แมวบ้านทุกพันธุ์ นอกจากนี้ยังพบได้ในสัตว์ตระกูลอื่นๆ อีก เช่น สกั๊งค์ เฟอเร็ต มิ้งค์ แรคคูน ซึ่งโรคนี้ทําให้สัตว์มีอาการคล้ายเป็นหวัดและท้องเสีย ซึ่งมีอาการเหมือนโรคไข้หัดสุนัข จึงมีคนเรียกชื่อต่างๆ เช่น โรคไข้หัดแมว หรือโรคลําไส้อักเสบในแมว
สาเหตุ
โรคไข้หัดแมวนี้เป็นโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัสกลุ่มพาร์โวไวรัส (feline parvovirus) มีผลต่อระบบทางเดินอาหารของแมว โรคไข้หัดแมวมีระยะการฟักตัวของโรค 2-7 วัน
แมวสามารถติดโรคไข้หัดแมวได้จากการติดต่อโดยตรงจากแมวป่วย โดยเฉพาะทางอุจจาระภาชนะใส่อาหาร น้ำ กรงหรือที่ขับถ่ายของแมว พื้นดินที่ปนเปื้อนด้วยเชื้อไวรัส นอกจากนี้อาจเป็นเสื้อผ้าหรือรองเท้า ไวรัสไข้หัดแมวมีอยู่ตามธรรมชาติ ติดต่อจากแมวตัวหนึ่งไปยังตัวอื่นได้ ผ่านทางน้ำมูก น้ำลาย อาหาร หรือสัมผัสแมวตัวที่เป็นโรค ถ้าแมวบ้านออกไปสังคมกับแมวนอกบ้าน ก็มีโอกาสเสี่ยงที่จะได้รับเชื้อไข้หัดแมวได้มาก
การแพร่โรคเกิดได้ง่ายขึ้นระหว่างแมวที่เลี้ยงปนกันหลายๆตัว แมลงวันก็เป็นอีกพาหะสำคัญในประเทศแถบร้อน โดยพาเชื้อไวรัสไข้หัดแมวบินไปเกาะแมวตัวที่เป็นโรค สามารถแพร่กระจายให้เกิดการติดเชื้อได้
ถึงโรคหัดแมวจะติดต่อกันได้ง่าย แต่ไม่ต้องกังวลว่าเชื้อจะแพร่กระจายผ่านอากาศ หรือพัดพาไปตามลม ไวรัสหัดแมวแพร่เชื้อด้วยการสัมผัส แค่ไอ จาม เชื้อลอยในอากาศ ติดต่อไม่ได้ ไวรัสไข้หัดแมวไม่สามารถทนความร้อนได้ อุณหภูมิ 50-60 องศาเซลเซียส ก็อยู่ไม่ได้ การดำรงชีวิตต้องอยู่ในที่ชื้น อยู่ในตัวกลางที่เป็นน้ำ น้ำมูก น้ำลายสัตว์ แต่ทนอยู่ในที่ร้อนและไม่ชื้นแฉะไม่ได้
อาการสัตว์ป่วย
แมวมีอาการซึม ไม่กินอาหาร ไข้สูง เพียงแค่หนึ่งวัน อาจจะเป็นอัมพาตขาทั้ง 4 ข้างเดินไม่ได้
โรคไข้หัดแมวนี้จะรุนแรงมากในแมวอายุน้อย โดยมีอาการที่สําคัญที่พบ คือ มีไข้สูง อาเจียนท้องเสีย มีผลต่อการทรงตัวของลูกแมว และทําให้ลูกแมวตาบอดได้
เมื่อคลําบริเวณช่องท้องจะเจ็บท้อง บางทีพบเป็นลําของลําไส้หนาตัว ภายในมีแก๊สและของเหลว
ตรวจเลือดพบเม็ดเลือดขาวต่ำมาก จึงมีชื่อเรียกโรคนี้ว่า feline panleukopenia
ในลูกแมวโต เมื่อเกิดการติดเชื้อระยะหนึ่งแล้ว ร่างกายสามารถสร้างภูมิคุ้มกันได้ ก็จะอาการดีขึ้น แต่แมวที่หายจากโรคใหม่ๆสามารถพบเชื้อไวรัสออกมากับอุจจาระได้หลายสัปดาห์ แมวเด็กส่วนใหญ่เป็นแล้วตาย ต่างกับแมวผู้ใหญ่เป็นแล้วโอกาสรอดมีมากกว่า แมวอายุมาก ผ่านร้อนผ่านหนาวมามากแล้ว พอจะมีภูมิต้านทานโรคอยู่บ้าง แต่แมวที่ไม่แสดงอาการโรคหัด ก็ไม่ได้หมายความว่าแมวตัวนั้นจะไม่มีเชื้อ แมวอาจได้รับเชื้อหัดอ่อนๆอยู่ในตัว ถึงจะไม่มีอาการ แต่ก็เป็นตัวกลางนำเชื้อแพร่ไปสู่แมวตัวอื่นได้เช่นกัน การสร้างภูมิคุ้มกันตามธรรมชาติเป็นเรื่องปกติอยู่แล้ว แต่แมวที่เจ้าของเลี้ยง ต้องดูแลใกล้ชิด
ในแมวตั้งท้อง อาจแท้งลูกหรือลูกตายหลังคลอดได้
อาการอาเจียน ปวดท้องอย่างรุนแรง และแห้งน้ำอย่างรวดเร็ว มักทำให้เจ้าของคิดว่าสัตว์โดนสารพิษ
ในกลุ่มแมวอายุน้อย ส่วนใหญ่จะตายอย่างรวดเร็ว อัตราการตายอยู่ระหว่างร้อยละ 25-90 แมวที่ป่วยเป็นหัด ถ้าเป็นแมวเด็กอายุ 6-8 อาทิตย์ จะเสียชีวิตภายใน 1 สัปดาห์ ยิ่งเป็นลูกแมวก็จะไม่มีภูมิต้านทาน ยิ่งน่าเป็นห่วง เมื่อติดเชื้อแล้วอาการเป็นหนักและเสียชีวิตได้ง่ายมาก
การติดต่อ
โรคไข้หัดแมวนี้เป็นโรคเฉพาะสัตว์ในตระกูลแมวเท่านั้น ไม่เคยปรากฎมีรายงานว่าพบการติดต่อมาสู่คนแต่อย่างใด
การรักษา
พาไปพบสัตวแพทย์ทันที เพราะเป็นโรคติดต่อร้ายแรง
โดยเฉพาะแมวที่ไม่กินอาหาร หรืออาเจียนท้องเสีย จะทําให้ร่างกายอ่อนเพลียทรุดโทรมมาก สัตว์อาจอยู่ในสภาพช็อคได้
รักษาตามอาการและพยุงชีวิตให้สัตว์สามารถสร้างภูมิต้านทานต่อโรคได้โดยการให้สารน้ำทดแทน ขั้นตอนการรักษาหลักๆ คือ ทำให้แมวกินอาหารให้ได้ ต้องพยายามป้อนอาหาร พร้อมกับให้ยาปฏิชีวนะป้องกันโรคแทรกซ้อน การรักษาทำได้เพียงเท่านี้ จะรอดหรือไม่ขึ้นอยู่กับความแข็งแรงของแมวแต่ละตัว
พิจารณาให้ยาปฏิชีวนะเพื่อป้องกันโรคแทรกซ้อน
ฉีดยาระงับการอาเจียนและลดการทํางานของลําไส้โดยการงดอาหารและน้ำ
วิตามินบีรวมโดยการฉีดเข้าทางเส้นเลือด
การป้องกัน
นำแมวไปฉีดวัคซีนป้องกัน เมื่อแมวมีอายุได้ 2 เดือน ฉีดวัคซีนซ้ำอีกครั้งเมื่ออายุ 6 เดือน และฉีดซ้ำทุกปี
ปัจจุบันมีวัคซีนป้องกันโรคไข้หัดแมวจําหน่ายหลายยี่ห้อ และยังมีชนิดที่เป็นวัคซีนรวมอีกด้วย โดยสามารถใช้ป้องกันได้ทั้งโรคไข้หัดแมวและโรคไข้หวัดแมวไปพร้อมๆกัน วัคซีนโรคอื่นๆที่สำคัญในแมว มี 4 ชนิด โรคไข้หัดแมว โรคพิษสุนัขบ้า โรคลูคีเมีย หรือมะเร็งแมว และโรคเยื่อบุช่องท้องอักเสบ โรคเยื่อบุช่องท้องอักเสบ
ควรระวังแมวที่ยังไม่เป็นโรค โดยรีบแยกแมวป่วยออกจากแมวปกติตัวอื่นทันที เพราะโรคนี้เป็นได้กับแมวทุกอายุ
ทําความสะอาดและฆ่าเชื้อโรคที่อาจแพร่ออกมากับอุจจาระปัสสาวะด้วยน้ำยาโซเดียมไฮโปคลอไรด์
เจ้าของแมวที่มีแมวตายด้วยโรคไข้หัดแมวไม่ควรนําลูกแมวที่ยังไม่เคยได้รับการฉีดวัคซีนเข้ามาเลี้ยงอีก
ขอบคุณข้อมูลจาก นพ.วรวุฒิ เจริญศิริ ศูนย์ข้อมูลสุขภาพกรุงเทพ
#RamaChannel
https://www.facebook.com/photo.php?fbid=824740764207836&set=a.695600350455212.1073741826.312324502116134
ด้วยความห่วงใย
.....................
BETTER PHARMACY เจ็ดยอด เชียงใหม่
เราคัดสรรสิ่งที่ดี มีคุณภาพ เพื่อคุณ
FACEBOOK / BetterPharmacyCMG
LINE ID - BETTERCM
.....................
UPDATE - 2018.11.06
No comments:
Post a Comment