Tuesday, March 19, 2019

ซึมเศร้า

แบบทดสอบภาวะซึมเศร้า PHQ-9 | คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 
https://med.mahidol.ac.th/depression_risk






เวทีจุฬาฯ เสวนา ครั้งที่ 18 เรื่อง “เข้าใจปัญหาเยาวชนกับภาวะซึมเศร้า” 
วันพฤหัสบดีที่ 14 มีนาคม 2562 เวลา 13.30 - 16.00 น. ณ ห้องประชุม 202 อาคารจามจุรี 4 

เพื่อเผยแพร่ความรู้และเสนอแนะทางออกของปัญหาความเครียดและภาวะซึมเศร้าที่เกิดขึ้นกับนักเรียน นิสิต นักศึกษา 

ด้วยวิทยากรและผู้เชี่ยวชาญร่วมเสวนา ประกอบด้วย

ผศ.ดร.ณัฐสุดา เต้พันธ์ หัวหน้าศูนย์สุขภาวะทางจิต อาจารย์สาขาจิตวิทยาการปรึกษา คณะจิตวิทยา จุฬาฯ

พญ.ดุษฎี จึงศิรกุลวิทย์ ผู้อำนวยการสถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นราชนครินทร์

ผศ.นพ.ณัทธร พิทยรัตน์เสถียร จิตแพทย์เด็ก ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ

ผศ.ดร.ปิยวรรณ วิเศษสุวรรณภูมิ หัวหน้าภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาฯ
ดร.ลูซี่ ตันอติชาติ สมาคมสะมาริตันส์แห่งประเทศไทย

ดำเนินรายการโดย อ.ดร.เจนนิเฟอร์ ชวโนวานิช คณะจิตวิทยา จุฬาฯ

https://www.facebook.com/ChulalongkornUniversity/videos/439525743456049







สิ่งที่ต้องยอมรับอย่างหนึ่งก็คือตัวเลขผู้ฆ่าตัวตายในประเทศไทยมีจำนวนที่สูงจนเกินพอดี จากข้อมูลของกรมสุขภาพจิต ทำให้เราได้ค้นพบข้อเท็จจริงที่น่าสนใจเกี่ยวกับการฆ่าตัวตายอยู่ด้วยกัน 5 ข้อ
อ่านต่อได้ที่: https://www.facebook.com/brandthink.me/posts/2036908876634654:0




\


จับตาคนใกล้ชิด 7 ปัจจัยวัยรุ่นไทยคิดสั้น" : Matichon TV
https://www.youtube.com/watch?v=-mzmZat7evQ







ภาวะซึมเศร้าของคุณไม่ได้เป็นภาระ "อาร์ม-กัมปนาท พนัสนาชี" แร็ปผู้ร่ายเพลงปลดโรคซึมเศร้า - โพสต์ทูเดย์ สังคมทั่วไป

https://www.posttoday.com/social/general/582466

https://youtu.be/PPD_1gXuY6I







infographic 5 สัญญานเตือน...เสี่ยงฆ่าตัวตาย ในโลกโซเชียล
https://goo.gl/mErbtz
หากพบเห็นคนเล่นโซเชียลโพสต์ข้อความเกี่ยวกับ... 
? โพสต์ ข้อความสั่งเสียเป็นนัยๆ เช่น ขอโทษ ลาก่อน 
? โพสต์ เกี่ยวกับความตาย ไม่อยากอยู่อีกต่อไปแล้ว 
? โพสต์์ รู้สึกผิด ล้มเหลว หมดหวังในชีวิต
? โพสต์ ว่าเป็นภาระของผู้อื่น
? โพสต์ เกี่ยวกับความเจ็บปวด ความทุกข์ทรมาน
นั่นไม่ใช่เรื่องล้อเล่น แต่เป็น #สัญญาณเตือนเสี่ยงฆ่าตัวตาย
️ให้รีบช่วยเขา มีปัญหาสุขภาพจิต โทร #สายด่วนสุขภาพจิต1323 ฟรี ตลอด 24 ชั่วโมง #ข่าวฆ่าตัวตาย #ฆ่าตัวตาย #ในโลกโซเชียล




\


ความไวต่อความโกรธเพิ่มมากขึ้นในช่วงต้นถึงกลางวัยรุ่น และเมื่อคนหนุ่มสาวปรับตัวให้เข้ากับรูปแบบภัยคุกคามทางสังคม เช่น การข่มขู่ ก็จะมีการพัฒนาความไวต่อความโกรธตามปกติ ส่วนผู้สูงอายุมีแนวโน้มที่จะมีอารมณ์เชิงบวกและมุมมองเชิงบวก

https://www.thairath.co.th/content/1512676







หมอแนะ​ แต่​ปัญหาเกิดจากกฎหมายล้าหลัง

สารสกัดจากดอกไม้ สามารถรักษา "อาการเครียด" ได้จริงหรือ - หมอแนะ 
https://www.youtube.com/watch?v=z-KsxJ0JwfI


รายการ TDA Healti Secret On Radio
ตอน "มาต้านอาการซึมเศร้ากันเถอะ"
ออกอากาศวันเสาร์ที่ 16 มี.ค. 2019 

https://youtu.be/JycZCk_Znt8






ด้วยความห่วงใย
.....................
BETTER PHARMACY เจ็ดยอด เชียงใหม่
เราคัดสรรสิ่งที่ดี มีคุณภาพ เพื่อคุณ


FACEBOOK / BetterPharmacyCMG
LINE ID - BETTERCM
.....................




UPDATE  -  2019.03.19

No comments:

Post a Comment