เราต้องใช้ antibiotics ในการรักษาสิว เพราะต้องการฆ่าเชื้อ P.acnes ซึ่งเป็นเชื้อ Gram-positive anaerobe ที่อาศัยอยู่แบบถาวรใน sebaceous gland หรือ ต่อมไขมันบนผิวหนัง คนที่เป็นสิวจึงมีเชื้อ P.acnes มากกว่าคนที่ไม่เป็นสิว
ปัจจุบันวิทยาการก้าวไกล ได้ค้นพบ P.acnes อีกหลาย subtypes ซึ่งบางตัวทำให้เกิดสิว แต่บางตัวทำให้เกิดโรคที่ก่อให้เกิดความพิการ หรือ เสียชีวิตได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเวลาใส่เครื่องมือเข้าไปในร่างกาย เช่น ใส่ข้อเข่าเทียม กระดูกเทียม เปลี่ยนลิ้นหัวใจ ใส่สายเข้าไปในร่างกาย การใส่สายที่ระบายความดันในสมอง รวมกระทั่งการทำนมฝังซิลิโคน
**ACNE2016**21
ปัจจุบันวิทยาการก้าวไกล ได้ค้นพบ P.acnes อีกหลาย subtypes ซึ่งบางตัวทำให้เกิดสิว แต่บางตัวทำให้เกิดโรคที่ก่อให้เกิดความพิการ หรือ เสียชีวิตได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเวลาใส่เครื่องมือเข้าไปในร่างกาย เช่น ใส่ข้อเข่าเทียม กระดูกเทียม เปลี่ยนลิ้นหัวใจ ใส่สายเข้าไปในร่างกาย การใส่สายที่ระบายความดันในสมอง รวมกระทั่งการทำนมฝังซิลิโคน
**ACNE2016**21
1
Add a comment...
P.acnes มีความสำคัญอย่างไรในกลไกการเกิดสิว
4 กลไกหลักในการเกิดสิว
เซลต่อมขนแบ่งตัวมากขึ้นจนอุดตัน
ต่อมไขมันสร้างไขมันมากขึ้น
การเจริญของเชื้อ P.acnes
เกิดการอักเสบ
ซึ่ง P.acnes จะกระตุ้นให้กลไกอื่นเป็นมากขึ้นได้ กระบวนการที่ร่างกายจะลดแบคทีเรียเหล่านี้ ก็ต้องผ่านกระบวนการอักเสบ ทำให้เซลเม็ดเลือดขาวผ่านเข้ามาในผิวหนังมากยิ่งขึ้น เกิดอนุมูลอิสระมากขึ้น สิวจะเห่อมากขึ้นกว่าเดิม
นอกจากนี้ P.acnes ยังจับกับตัวรับที่เซลผิวหนัง กระตุ้นให้เซลผิวหนังแบ่งตัวมากขึ้น ทำให้เกิดการอุดตันมากขึ้น เกิด comedone มากขึ้น
P.acnes จับกับ receptor บางอย่าง กระตุ้นให้ต่อมไขมันทำงานมากขึ้น ผลิตไขมันเพิ่มขึ้น ทำให้สิวเป็นมากขึ้น
จึงเป็นที่มาของการกำจัด P.acnes ด้วยยาฆ่าเชื้อชนิดกิน หรือ ชนิดทา ย่อมทำให้การรักษาสิวดีขึ้น
**ACNE2016**22
4 กลไกหลักในการเกิดสิว
เซลต่อมขนแบ่งตัวมากขึ้นจนอุดตัน
ต่อมไขมันสร้างไขมันมากขึ้น
การเจริญของเชื้อ P.acnes
เกิดการอักเสบ
ซึ่ง P.acnes จะกระตุ้นให้กลไกอื่นเป็นมากขึ้นได้ กระบวนการที่ร่างกายจะลดแบคทีเรียเหล่านี้ ก็ต้องผ่านกระบวนการอักเสบ ทำให้เซลเม็ดเลือดขาวผ่านเข้ามาในผิวหนังมากยิ่งขึ้น เกิดอนุมูลอิสระมากขึ้น สิวจะเห่อมากขึ้นกว่าเดิม
นอกจากนี้ P.acnes ยังจับกับตัวรับที่เซลผิวหนัง กระตุ้นให้เซลผิวหนังแบ่งตัวมากขึ้น ทำให้เกิดการอุดตันมากขึ้น เกิด comedone มากขึ้น
P.acnes จับกับ receptor บางอย่าง กระตุ้นให้ต่อมไขมันทำงานมากขึ้น ผลิตไขมันเพิ่มขึ้น ทำให้สิวเป็นมากขึ้น
จึงเป็นที่มาของการกำจัด P.acnes ด้วยยาฆ่าเชื้อชนิดกิน หรือ ชนิดทา ย่อมทำให้การรักษาสิวดีขึ้น
**ACNE2016**22
1
Add a comment...
คนไข้ที่เป็น mild acne ที่มีตุ่มหนองอักเสบแดง จำเป็นที่จะต้องให้ topical antibiotics
ส่วนกลุ่มที่เป็น moderate acne การใช้ oral antibiotics เป็นการรักษามาตรฐานของการรักษาสิว
สิวไม่ใช่โรคติดต่อ หรือ โรคติดเชื้อ การให้ oral antibiotics ไม่ได้ทำให้สิวหาย เป็นเพียงแค่หนึ่งในกลไกของการรักษาโรค
การให้ antibiotics ในการรักษาสิว มีจุดมุ่งหมาย 2 ประการ
1.ฆ่าเชื้อ P.acnes
2. ลดการอักเสบ
ซึ่งได้ประโยชน์ 2 กลไกด้วยกัน คือ การฆ่าเชื้อ และ ลดการอักเสบ
ที่มาของภาพ http://www.thelancet.com/journals/laninf/article/PIIS1473-3099%2815%2900527-7/abstract
**ACNE2016**23
ส่วนกลุ่มที่เป็น moderate acne การใช้ oral antibiotics เป็นการรักษามาตรฐานของการรักษาสิว
สิวไม่ใช่โรคติดต่อ หรือ โรคติดเชื้อ การให้ oral antibiotics ไม่ได้ทำให้สิวหาย เป็นเพียงแค่หนึ่งในกลไกของการรักษาโรค
การให้ antibiotics ในการรักษาสิว มีจุดมุ่งหมาย 2 ประการ
1.ฆ่าเชื้อ P.acnes
2. ลดการอักเสบ
ซึ่งได้ประโยชน์ 2 กลไกด้วยกัน คือ การฆ่าเชื้อ และ ลดการอักเสบ
ที่มาของภาพ http://www.thelancet.com/journals/laninf/article/PIIS1473-3099%2815%2900527-7/abstract
**ACNE2016**23
1
Add a comment...
ในช่วงแรกของการรักษาสิว ตั้งแต่ปี 1950-1970 sensitivity ของ antibiotics ที่มีต่อ P.acnes ดีมาก จึงมีการใช้ยาฆ่าเชื้อในการรักษาสิวกันอย่างแพร่หลาย
ในปี 1970 เริ่มพบการดื้อยาของเชื้อ P.acnes โดยเฉพาะในกลุ่ม erythromycin แต่ยังไม่เห็น impact ของการดื้อยา
ปี 1978-1988 การดื้อยาเพิ่มขึ้น 20% จากนั้น 10 ปีให้หลังการดื้อยาเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะ erythromycin
ในปัจจุบันอุบัติการณ์ของการเกิดเชื้อ P.acnes ดื้อยา เพิ่มขึ้นเป็นอย่างมาก และกลายเป็นปัญหาหลัก
ในปี 2003 ที่ประเทศสเปน ฝรั่งเศส คนไข้ 80% ดื้อต่อยาฆ่าเชื้อที่ใช้รักษา P.acnes ในฮ่องกง คนไข้ 50-60% ดื้อต่อยา erythromycin และ clindamycin
ปี 2016 ประเทศจีนมีปัญหาเชื้อดื้อยาที่สำคัญมากถึง 50-60%
เชื้อที่ดื้อต่อ erythromycin จะดื้อต่อ clindamycin ด้วยเช่นกัน ผลการวิจัยบางงานพบว่า topical clindamycin มีผลในการรักษาไม่ต่างจากยาหลอก เมื่อเชื้อดื้อยา ก็รักษาสิวได้ยากขึ้น ความรุนแรงของโรคก็มากขึ้น ประสิทธิภาพในการรักษาก็จะลดลง
ส่วน Doxycycline และ Tetracycline จะดื้อยาในอัตราที่น้อยกว่า
มีการศึกษาพบว่า คนที่มีเชื้อดื้อยา จะแพร่กระจายการดื้อยาไปสู่คนในครอบครัวที่ติดต่อใกล้ชิดได้ จึงเป็นเรื่องใกล้ตัวมาก คนไข้ที่เป็นสิวและมีเชื้อดื้อยา สามารถแพร่การดื้อยาให้กับคนใกล้ชิดมากถึง 40-80% ไม่เว้นแม้แต่หมอผิวหนัง 30% ที่มีเชื้อ P.acnes ดื้อยา เนื่องจากเชื้อที่ดื้อยา จะอยู่ในบริเวณที่ติดเชื้อนั้นเป็นเวลานาน
การกินยา หรือ ทายาฆ่าเชื้อ เพียงอย่างเดียว(topical antibiotic หรือ oral antibiotic monotherapy) เพียงแค่ 8 สัปดาห์ จะก่อให้เกิดเชื้อดื้อยา และเมื่อยิ่งใช้นานต่อไปเรื่อยๆ จำนวนของเชื้อดื้อยาก็จะเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ปัญหาการดื้อยาจึงเป็นปัญหาระดับโลก
เมื่อเชื่อดื้อยา
1.ประสิทธิภาพของยาในการรักษาสิวจะลดลง
2. เนื่องจาก P.acnes ก่อให้เกิดโรคในระบบต่างๆได้ จึงก่อโรคได้รุนแรงมากขึ้นจนอาจเกิดทุพพลภาพและเสียชีวิตได้ ซึ่งปัจจุบันมี case report ติดเชื้อสิวแล้วเสียชีวิต
3. สามารถส่งต่อการดื้อยาให้กับเชื้ออื่นๆที่อยู่บนผิวหนังได้ อาทิเช่น strep. staph. จะก่อให้เกิดการดื้อยาของเชื้ออื่นๆ เกิดความยากลำบากในการรักษาโรคอื่นๆ
มีงานวิจัยในผู้ที่ได้รับยาฆ่าเชื้อ จะพบว่า มีเชื้อ strep. อยู่ในลำคอ มากกว่ากลุ่มที่ไม่ได้กินยาฆ่าเชื้อ ซึ่ง 85% จะเป็นเชื้อ strep. ที่ดื้อยา tetracycline ที่ใช้รักษาสิว
คนที่ใช้ยาฆ่าเชื้อรักษาสิว จะเป็นหวัดมากกว่าคนที่ไม่ได้ใช้ยาฆ่าเชื้อรักษาสิว 2.15 เท่า ซึ่งบางตัวอาจลามเข้าสู่กระแสเลือด และอาจก่อโรคที่รุนแรงขึ้นจนอาจเสียชีวิตได้
การใช้ยาฆ่าเชื้อในการรักษาสิวจึงเป็นสิ่งสำคัญ เพราะ 80% เป็นสิว สิวเป็นโรคเรื้อรังเทียบเท่ากับหอบหืด ใช้เวลาในการรักษานาน และใช้ยาฆ่าเชื้อในการรักษาสิวอย่างพร่ำเพรื่อ มีงานวิจัยในหมอผิวหนัง 1% แต่สั่งจ่ายยาฆ่าเชื้อมากถึง 5% ใน community นั้น ปัญหาเชื้อดื้อยาจึงเป็นปัญหาระดับโลก จึงต้องเลือกใช้ยาฆ่าเชื้อในขนาดและระยะเวลาที่สั้นที่สุดเท่าที่จะสั้นได้
การใช้ยาฆ่าเชื้อในการรักษาสิว จะใช้ยาในกลุ่ม cycline ขนาดต่ำๆ ก็มีประสิทธิภาพในการรักษาที่ดี ออกฤทธิ์ลดการอักเสบได้ดีมาก โดยเลือก DOXY และ TETRACYCLINE เป็นอันดับแรก
ERYTHRO จะใช้ในผู้ที่กิน DOXY และ TETRA แล้วเกิดคลื่นไส้อาเจียนมาก แต่จะมีความนิยมน้อย เนื่องจากเชื้อดื้อยาเกิดขึ้นมาก
ORAL CLINDAMYCIN ใช้ได้ แต่ไม่นิยม เนื่องจากมี side effect ที่รุนแรงในระบบทางเดินอาหาร รวมทั้งกลุ่มที่ดื้อยา erythro จะมี cross resistance ต่อ CLINDA ด้วยเช่นกัน
BACTRIM หรือ QUINOLONES จะเป็น second line drugs ที่ไม่ค่อยนิยมใช้กัน
ที่มาของภาพ http://contemporarypediatrics.modernmedicine.com/contemporary-pediatrics/content/tags/acne/approach-acne-management
**ACNE2016**24
ในปี 1970 เริ่มพบการดื้อยาของเชื้อ P.acnes โดยเฉพาะในกลุ่ม erythromycin แต่ยังไม่เห็น impact ของการดื้อยา
ปี 1978-1988 การดื้อยาเพิ่มขึ้น 20% จากนั้น 10 ปีให้หลังการดื้อยาเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะ erythromycin
ในปัจจุบันอุบัติการณ์ของการเกิดเชื้อ P.acnes ดื้อยา เพิ่มขึ้นเป็นอย่างมาก และกลายเป็นปัญหาหลัก
ในปี 2003 ที่ประเทศสเปน ฝรั่งเศส คนไข้ 80% ดื้อต่อยาฆ่าเชื้อที่ใช้รักษา P.acnes ในฮ่องกง คนไข้ 50-60% ดื้อต่อยา erythromycin และ clindamycin
ปี 2016 ประเทศจีนมีปัญหาเชื้อดื้อยาที่สำคัญมากถึง 50-60%
เชื้อที่ดื้อต่อ erythromycin จะดื้อต่อ clindamycin ด้วยเช่นกัน ผลการวิจัยบางงานพบว่า topical clindamycin มีผลในการรักษาไม่ต่างจากยาหลอก เมื่อเชื้อดื้อยา ก็รักษาสิวได้ยากขึ้น ความรุนแรงของโรคก็มากขึ้น ประสิทธิภาพในการรักษาก็จะลดลง
ส่วน Doxycycline และ Tetracycline จะดื้อยาในอัตราที่น้อยกว่า
มีการศึกษาพบว่า คนที่มีเชื้อดื้อยา จะแพร่กระจายการดื้อยาไปสู่คนในครอบครัวที่ติดต่อใกล้ชิดได้ จึงเป็นเรื่องใกล้ตัวมาก คนไข้ที่เป็นสิวและมีเชื้อดื้อยา สามารถแพร่การดื้อยาให้กับคนใกล้ชิดมากถึง 40-80% ไม่เว้นแม้แต่หมอผิวหนัง 30% ที่มีเชื้อ P.acnes ดื้อยา เนื่องจากเชื้อที่ดื้อยา จะอยู่ในบริเวณที่ติดเชื้อนั้นเป็นเวลานาน
การกินยา หรือ ทายาฆ่าเชื้อ เพียงอย่างเดียว(topical antibiotic หรือ oral antibiotic monotherapy) เพียงแค่ 8 สัปดาห์ จะก่อให้เกิดเชื้อดื้อยา และเมื่อยิ่งใช้นานต่อไปเรื่อยๆ จำนวนของเชื้อดื้อยาก็จะเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ปัญหาการดื้อยาจึงเป็นปัญหาระดับโลก
เมื่อเชื่อดื้อยา
1.ประสิทธิภาพของยาในการรักษาสิวจะลดลง
2. เนื่องจาก P.acnes ก่อให้เกิดโรคในระบบต่างๆได้ จึงก่อโรคได้รุนแรงมากขึ้นจนอาจเกิดทุพพลภาพและเสียชีวิตได้ ซึ่งปัจจุบันมี case report ติดเชื้อสิวแล้วเสียชีวิต
3. สามารถส่งต่อการดื้อยาให้กับเชื้ออื่นๆที่อยู่บนผิวหนังได้ อาทิเช่น strep. staph. จะก่อให้เกิดการดื้อยาของเชื้ออื่นๆ เกิดความยากลำบากในการรักษาโรคอื่นๆ
มีงานวิจัยในผู้ที่ได้รับยาฆ่าเชื้อ จะพบว่า มีเชื้อ strep. อยู่ในลำคอ มากกว่ากลุ่มที่ไม่ได้กินยาฆ่าเชื้อ ซึ่ง 85% จะเป็นเชื้อ strep. ที่ดื้อยา tetracycline ที่ใช้รักษาสิว
คนที่ใช้ยาฆ่าเชื้อรักษาสิว จะเป็นหวัดมากกว่าคนที่ไม่ได้ใช้ยาฆ่าเชื้อรักษาสิว 2.15 เท่า ซึ่งบางตัวอาจลามเข้าสู่กระแสเลือด และอาจก่อโรคที่รุนแรงขึ้นจนอาจเสียชีวิตได้
การใช้ยาฆ่าเชื้อในการรักษาสิวจึงเป็นสิ่งสำคัญ เพราะ 80% เป็นสิว สิวเป็นโรคเรื้อรังเทียบเท่ากับหอบหืด ใช้เวลาในการรักษานาน และใช้ยาฆ่าเชื้อในการรักษาสิวอย่างพร่ำเพรื่อ มีงานวิจัยในหมอผิวหนัง 1% แต่สั่งจ่ายยาฆ่าเชื้อมากถึง 5% ใน community นั้น ปัญหาเชื้อดื้อยาจึงเป็นปัญหาระดับโลก จึงต้องเลือกใช้ยาฆ่าเชื้อในขนาดและระยะเวลาที่สั้นที่สุดเท่าที่จะสั้นได้
การใช้ยาฆ่าเชื้อในการรักษาสิว จะใช้ยาในกลุ่ม cycline ขนาดต่ำๆ ก็มีประสิทธิภาพในการรักษาที่ดี ออกฤทธิ์ลดการอักเสบได้ดีมาก โดยเลือก DOXY และ TETRACYCLINE เป็นอันดับแรก
ERYTHRO จะใช้ในผู้ที่กิน DOXY และ TETRA แล้วเกิดคลื่นไส้อาเจียนมาก แต่จะมีความนิยมน้อย เนื่องจากเชื้อดื้อยาเกิดขึ้นมาก
ORAL CLINDAMYCIN ใช้ได้ แต่ไม่นิยม เนื่องจากมี side effect ที่รุนแรงในระบบทางเดินอาหาร รวมทั้งกลุ่มที่ดื้อยา erythro จะมี cross resistance ต่อ CLINDA ด้วยเช่นกัน
BACTRIM หรือ QUINOLONES จะเป็น second line drugs ที่ไม่ค่อยนิยมใช้กัน
ที่มาของภาพ http://contemporarypediatrics.modernmedicine.com/contemporary-pediatrics/content/tags/acne/approach-acne-management
**ACNE2016**24
1
Add a comment...
Topical antibiotics for acne
ตัวที่นิยมใช้ในปัจจุบัน คือ erythromycin และ clindamycin ซึ่งล้วนแล้วแต่กระตุ้นให้เกิดเชื้อดื้อยาได้ทั้งนั้น
นอกจากนี้ยังมีกลุ่มอื่นๆอีก เช่น Benzoyl peroxide (BPO), retinoids, Adapalene ไม่ก่อให้เกิดเชื้อดื้อยา
และยังมี Topical fixed combination ที่กระตุ้นให้เกิดเชื้อดื้อยาได้เช่นกัน
หลักสำคัญที่ควรจำใส่ใจ
1.ไม่ควรใช้ Topical antibiotics เป็นยารักษาสิวเพียงตัวเดียว
มีงานวิจัยพบว่า topical clindamycin ให้ผลในการรักษาไม่ต่างจาก placebo รวมทั้งการให้ Topical antibiotics เพียงชนิดเดียวจะออกฤทธิ์ในการรักษาค่อนข้างช้า จึงควรที่จะ add คู่กับ BPO จะทำให้ประสิทธิภาพในการรักษาสิวดีขึ้น และเร็วขึ้น
2. Oral antibiotics มีความสำคัญในการรักษาสิว ใช้ได้ แต่ต้องใช้อย่างถูกต้อง
ไม่ควรใช้ Oral antibiotics เพียงตัวเดียวในการรักษา ควรใช้ร่วมกับการรักษาแบบอื่นๆ ไม่ว่าจะเป็น BPO หรือ RETINOID เพื่อให้ครอบคลุมกลไกในการเกิดโรคในหลายๆจุดยับยั้งกลไกในการเกิดโรค ผลการรักษาจะดีขึ้น
โดย Oral antibiotics ควรใช้ dose ต่ำสุดในระยะเวลาที่สั้นที่สุด เพื่อหวังฤทธิ์ antiinflame ไม่ใช่ฤทธิ์การฆ่าเชื้อ กดการอักเสบที่จะเกิดขึ้น โดยใช้ยาไม่ควรเกิน 4 เดือน แต่ถ้าหายแล้วให้หยุดยาได้เลย เพื่อให้ระยะเวลาในการใช้ยาสั้นที่สุด
อย่าใช้ topical antibiotics คู่กับ oral antibiotics โดยเฉพาะ กิน DOXY แล้วใช้ ERYTHRO ทา เชื้ออาจจะดื้อยาทั้งสองชนิดได้ในอนาคต และอย่าใช้ antibiotics ไม่ว่าชนิดกินหรือทา เป็น maintenance therapy
อย่าเปลี่ยน antibiotics บ่อยๆ ให้แน่ใจว่าใช้แล้วไม่ได้ผลจริงๆ จึงค่อยเปลี่ยนเป็นยากินประเภทอื่น การรักษาสิวต้องงดส่องกระจกนานถึง 6 อาทิตย์ เนื่องจากการประเมินว่าตอบสนองต่อยานั้นหรือไม่ จะอยู่ที่ 4-6 สัปดาห์
3. สิวเป็นโรคเรื้อรัง ความสำคัญจึงอยู่ที่ maintenance phase หลังจากที่คนไข้หายแล้ว การให้ยาทาต่อเนืองจึงเป็นสิ่งสำคัญ ป้องกันไม่ให้เกิด comedone ด้วยการใช้ topical retinoid ในระยะยาว จะช่วยป้องกันไม่ให้สิวกลับเป็นซ้ำ
ที่มาของภาพ
https://www.uspharmacist.com/article/acne-pharmacotherapy-a-review
**ACNE2016**25
ตัวที่นิยมใช้ในปัจจุบัน คือ erythromycin และ clindamycin ซึ่งล้วนแล้วแต่กระตุ้นให้เกิดเชื้อดื้อยาได้ทั้งนั้น
นอกจากนี้ยังมีกลุ่มอื่นๆอีก เช่น Benzoyl peroxide (BPO), retinoids, Adapalene ไม่ก่อให้เกิดเชื้อดื้อยา
และยังมี Topical fixed combination ที่กระตุ้นให้เกิดเชื้อดื้อยาได้เช่นกัน
หลักสำคัญที่ควรจำใส่ใจ
1.ไม่ควรใช้ Topical antibiotics เป็นยารักษาสิวเพียงตัวเดียว
มีงานวิจัยพบว่า topical clindamycin ให้ผลในการรักษาไม่ต่างจาก placebo รวมทั้งการให้ Topical antibiotics เพียงชนิดเดียวจะออกฤทธิ์ในการรักษาค่อนข้างช้า จึงควรที่จะ add คู่กับ BPO จะทำให้ประสิทธิภาพในการรักษาสิวดีขึ้น และเร็วขึ้น
2. Oral antibiotics มีความสำคัญในการรักษาสิว ใช้ได้ แต่ต้องใช้อย่างถูกต้อง
ไม่ควรใช้ Oral antibiotics เพียงตัวเดียวในการรักษา ควรใช้ร่วมกับการรักษาแบบอื่นๆ ไม่ว่าจะเป็น BPO หรือ RETINOID เพื่อให้ครอบคลุมกลไกในการเกิดโรคในหลายๆจุดยับยั้งกลไกในการเกิดโรค ผลการรักษาจะดีขึ้น
โดย Oral antibiotics ควรใช้ dose ต่ำสุดในระยะเวลาที่สั้นที่สุด เพื่อหวังฤทธิ์ antiinflame ไม่ใช่ฤทธิ์การฆ่าเชื้อ กดการอักเสบที่จะเกิดขึ้น โดยใช้ยาไม่ควรเกิน 4 เดือน แต่ถ้าหายแล้วให้หยุดยาได้เลย เพื่อให้ระยะเวลาในการใช้ยาสั้นที่สุด
อย่าใช้ topical antibiotics คู่กับ oral antibiotics โดยเฉพาะ กิน DOXY แล้วใช้ ERYTHRO ทา เชื้ออาจจะดื้อยาทั้งสองชนิดได้ในอนาคต และอย่าใช้ antibiotics ไม่ว่าชนิดกินหรือทา เป็น maintenance therapy
อย่าเปลี่ยน antibiotics บ่อยๆ ให้แน่ใจว่าใช้แล้วไม่ได้ผลจริงๆ จึงค่อยเปลี่ยนเป็นยากินประเภทอื่น การรักษาสิวต้องงดส่องกระจกนานถึง 6 อาทิตย์ เนื่องจากการประเมินว่าตอบสนองต่อยานั้นหรือไม่ จะอยู่ที่ 4-6 สัปดาห์
3. สิวเป็นโรคเรื้อรัง ความสำคัญจึงอยู่ที่ maintenance phase หลังจากที่คนไข้หายแล้ว การให้ยาทาต่อเนืองจึงเป็นสิ่งสำคัญ ป้องกันไม่ให้เกิด comedone ด้วยการใช้ topical retinoid ในระยะยาว จะช่วยป้องกันไม่ให้สิวกลับเป็นซ้ำ
ที่มาของภาพ
https://www.uspharmacist.com/article/acne-pharmacotherapy-a-review
**ACNE2016**25
1
Add a comment...
โดยสรุปสั้นๆ 3 คำสั้นๆ เกี่ยวกับการใช้ antibiotics
ถ้าเป็นไปได้ ให้หลีกเลี่ยงซะ
ถ้าหลีกเลี่ยงไม่ได้ ให้ใช้ร่วมกับ BPO และให้ทากรดวิตะมินเอไปด้วย
ใช้ให้สั้นที่สุด
โดยสรุป การใช้ ANTIBIOTICS มีประโยชน์ในการรักษาโรคให้หาย แต่มีความเสี่ยงต่อการเกิดเชื้อดื้อยา รวมทั้งทำให้แบคทีเรียในร่างกายและผิวหนังมีการเปลี่ยนแปลง ทุกคนมีบทบาทในการลดเชื้อดื้อยา โดยการใช้ยาฆ่าเชื้อเมื่อจำเป็นเท่านั้น โดยใช้ในขนาดและระยะเวลาที่เหมาะสม
สำหรับสิวถ้าไม่ช่วยกันระวัง ก็จะเกิด bacteria resistance ต่อยาฆ่าเชื้อ และจะรักษายากขึ้นเรื่อยๆ
สรุปความจาก
ACNE and ANTIMICROBIAL RESISTANT
by PAWINEE RERKNIMITR MD
พญ.ภาวิณี ฤกษ์นิมิต อาจารย์ประจำภาควิชา ตจวิทยา รพ.จุฬาลงกรณ์
การประชุมวิชาการการศึกษาต่อเนื่องด้านเภสัชศาสตร์ ครั้งที่ 5/2559
19 มิถุนายน 2559 ณ โรงแรมดิเอ็มเพรส เชียงใหม่
ที่มาของภาพ
http://www.medscape.com/viewarticle/726464_3
**ACNE2016**26
ถ้าเป็นไปได้ ให้หลีกเลี่ยงซะ
ถ้าหลีกเลี่ยงไม่ได้ ให้ใช้ร่วมกับ BPO และให้ทากรดวิตะมินเอไปด้วย
ใช้ให้สั้นที่สุด
โดยสรุป การใช้ ANTIBIOTICS มีประโยชน์ในการรักษาโรคให้หาย แต่มีความเสี่ยงต่อการเกิดเชื้อดื้อยา รวมทั้งทำให้แบคทีเรียในร่างกายและผิวหนังมีการเปลี่ยนแปลง ทุกคนมีบทบาทในการลดเชื้อดื้อยา โดยการใช้ยาฆ่าเชื้อเมื่อจำเป็นเท่านั้น โดยใช้ในขนาดและระยะเวลาที่เหมาะสม
สำหรับสิวถ้าไม่ช่วยกันระวัง ก็จะเกิด bacteria resistance ต่อยาฆ่าเชื้อ และจะรักษายากขึ้นเรื่อยๆ
สรุปความจาก
ACNE and ANTIMICROBIAL RESISTANT
by PAWINEE RERKNIMITR MD
พญ.ภาวิณี ฤกษ์นิมิต อาจารย์ประจำภาควิชา ตจวิทยา รพ.จุฬาลงกรณ์
การประชุมวิชาการการศึกษาต่อเนื่องด้านเภสัชศาสตร์ ครั้งที่ 5/2559
19 มิถุนายน 2559 ณ โรงแรมดิเอ็มเพรส เชียงใหม่
ที่มาของภาพ
http://www.medscape.com/viewarticle/726464_3
**ACNE2016**26
1
Add a comment...
Treating Acne Vulgaris: Systemic, Local and Combination Therapy
Laura J Savage; Alison M Layton
Disclosures
Expert Rev Clin Pharmacol. 2010;13(4):563-580.
http://www.medscape.com/viewarticle/726464_3
Laura J Savage; Alison M Layton
Disclosures
Expert Rev Clin Pharmacol. 2010;13(4):563-580.
http://www.medscape.com/viewarticle/726464_3
1
Add a comment...
An approach to acne management
May 01, 2013
By Miriam Weinstein, MD
http://contemporarypediatrics.modernmedicine.com/contemporary-pediatrics/content/tags/acne/approach-acne-management
May 01, 2013
By Miriam Weinstein, MD
http://contemporarypediatrics.modernmedicine.com/contemporary-pediatrics/content/tags/acne/approach-acne-management
<bio>Dr Weinstein is an associate professor of pediatrics and medicine, University of Toronto, Ontario, and staff pediatric dermatologist, Hospital for Sick Children, Toronto. The author has
1
Add a comment...
Antibiotic Resistance in Acne Treatment
Shannon Humphrey, MD, FRCPC, FAAD
Skin Therapy Letter. 2012;17(9)
http://www.medscape.com/viewarticle/772258_1
Shannon Humphrey, MD, FRCPC, FAAD
Skin Therapy Letter. 2012;17(9)
http://www.medscape.com/viewarticle/772258_1
1
Add a comment...
Acne treatment: antibiotics don’t need to kill bacteria to clear up your skin
March 18, 2016 9.05pm AEDT
http://theconversation.com/acne-treatment-antibiotics-dont-need-to-kill-bacteria-to-clear-up-your-skin-56188
March 18, 2016 9.05pm AEDT
http://theconversation.com/acne-treatment-antibiotics-dont-need-to-kill-bacteria-to-clear-up-your-skin-56188
While antibiotics can kill the bacteria associated with acne, it's their anti-inflammatory effects, not their antimicrobial effects, that yield the biggest skin-clearing benefits.
1
Add a comment...
Acne Pharmacotherapy: A Review
Keith T. Veltri, BPharm, PharmD
Assistant Professor
Touro College of Pharmacy
New York, New York
Clinical Pharmacy Manager–Family Medicine
Montefiore Medical Center
Bronx, New York
US Pharm. 2013;38(5):43-46.
https://www.uspharmacist.com/article/acne-pharmacotherapy-a-review
Keith T. Veltri, BPharm, PharmD
Assistant Professor
Touro College of Pharmacy
New York, New York
Clinical Pharmacy Manager–Family Medicine
Montefiore Medical Center
Bronx, New York
US Pharm. 2013;38(5):43-46.
https://www.uspharmacist.com/article/acne-pharmacotherapy-a-review
1
Add a comment...
Acne-Causing Bacteria Becoming Resistant To Antibiotics: Study
By Guneet Bhatia @Guneet_B On 07/07/15 AT 4:53 PM
http://www.ibtimes.com/acne-causing-bacteria-becoming-resistant-antibiotics-study-1997662
By Guneet Bhatia @Guneet_B On 07/07/15 AT 4:53 PM
http://www.ibtimes.com/acne-causing-bacteria-becoming-resistant-antibiotics-study-1997662
Researchers have warned doctors and physicians to limit the use of common antibiotics prescribed to treat the condition.
1
Add a comment...
.....................
BETTER PHARMACY เจ็ดยอด เชียงใหม่
เราคัดสรรสิ่งที่ดี มีคุณภาพ เพื่อคุณ
FACEBOOK/BetterPharmacyCMG
LINE ID - BETTERCM
.....................
UPDATE 2016.06.23
No comments:
Post a Comment